คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 34
หน้าที่ 34 / 374

สรุปเนื้อหา

บทนิบาตเป็นส่วนสำคัญในการสื่อสารที่ช่วยในการเชื่อมประโยคและให้ความหมายที่ชัดเจน โดยมีตัวอย่างและการแยกส่วนของศัพท์ในประโยคเพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้นของนักเรียนและผู้ที่สนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาที่ถูกต้องในมคธ สามารถดูเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-บทนิบาตและการใช้
-ความสำคัญของการประสบการณ์
-การแยกศัพท์ในประโยค
-การเชื่อมประโยคและหน้าที่ของศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ บทนิบาต บทนิบาต คือ นิบาตต่างๆ ที่ทำหน้าที่ขึ้นต้นประโยคหรือเชื่อม ประโยค เช่น นิบาตบอกกาล นิบาตบอกความรับความเตือน นิบาตบอก ปริเฉท เป็นต้น นิบาตเหล่านี้เรียกชื่อสัมพันธ์แบบลอยตัวบ้าง เข้า กับกิริยาบ้าง กับนามบ้าง แล้วแต่กรณี เช่น อกสส ภริยาย กุฉิย์ คพโภ ปติฏฐาสิ ฯ (๑/๓) พุทธา จ นาม ธมฺม เทเสนตา.....ฯ (๑/๕) สาวตถิย์ กร ปัญจสตา ธมมิกอุปาสกา นาม อเหสุ ฯ (๑/๑๒๐) บทต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นส่วนประกอบของประโยคทั้งสิ้น และ มีส่วนทำให้ประโยคสละสลวย และสมบูรณ์ขึ้น จึงควรทราบไว้เป็นพื้น ฐาน เบื้องต้นว่าบทหรือศัพท์นั้นๆ ทำหน้าที่อะไรในประโยค ซึ่งจะได้ ง่ายต่อการวางศัพท์นั้นๆ ลงไปในประโยคอีกทีหนึ่ง ความสัมพันธ์ กันของศัพท์ทุกศัพท์ในประโยคด้วย ทั้งจะได้ทราบ เพื่อความเข้าใจในเรื่องนี้ ขอให้ดูประโยคต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง แล้วแยกส่วนออกเป็นศัพท์ๆ พร้อมทั้งบอกด้วยว่าแต่ละศัพท์ทำหน้าที่ อะไรในประโยค พุทฺธา จ นาม ธมฺม เทเสนฺตา สรณสีลปพฺพชฺชาที่นํ อุปนิสสย์ โอโลเกตวา อชฺฌาสยวเสน ธมฺม์ เทเสนฺติ, ตสมา ทิวส์ สตฺถา ตสฺส อุปนิสสย์ โอโลเกตวา ธมฺม เทเสนโต อนุปุพพิกถ์ กเถา ฯ (๑/๕) พุทฺธา เป็นบทประธาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More