คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 180
หน้าที่ 180 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สำนวนไทยในการแปล เช่น การใช้ 'ประทุษร้าย' และ 'อิจฉา ริษยา' อย่างถูกต้อง รวมถึงตัวอย่างการแปลที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เห็นความแตกต่าง การใช้คำต่างๆ ในสำนวนไทย ทำให้นักเรียนเข้าใจและนำไปใช้ในการแปลได้ดียิ่งขึ้น โดยมีการเน้นย้ำการใช้สำนวนที่ถูกต้องและการรับรู้ถึงความสำคัญของการแปลที่ถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-การแปลไทยเป็นมคธ
-สำนวนไทย
-การใช้ภาษา
-การศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๖๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ (๑๑) สํานวนไทยว่า ประทุษร้าย ให้ใช้ ประทุษร้ายต่อ ไม่ใช่ ประทุษร้าย ง....... เช่น โย มิตฺตานํ น ทุพภูติ ไม่ใช่ โย มิตเต น ทุพภูติ โย อปปทุฏฐสฺส นรสฺส ทุสสติ ไม่ใช่ โย อ.ปทุฏฐ์ นร์ ทุสสติ (๑๒) สำนวนไทยว่า อิจฉา ริษยา ให้ใช้ อิจฉาริษยา ต่อ...... ไม่ใช่ อิจฉาริษยาซึ่ง....... เช่น ติตถิยา อิสสยนฺติ สมณาน ไม่ใช่ ติตถิยา อิสสยนฺติ สมเณ ทุชฺชนา คุณวนฺตานํ อุสยนติ ไม่ใช่ ทุชชนา คุณวนฺเต อุฐยนฺติ (๑๓) สำนวนไทยว่า กระหยิ่ม ให้ใช้ กระหยิ่มต่อ ..... ไม่ใช่ กระหยิ่มซึ่ง..... เช่น ซึ่ง เช่น ปหีนมานสฺส อนาสวสฺส เทวาปิ ตสฺส ปิหยนฺติ ตาทิโน ไม่ใช่ ปฟินมานํ อนาสน์ เทวาปี ต์ ปิหยนต์ ตาทิน (๑๔) สำนวนไทยว่า โกรธ ให้ใช้ โกรธต่อ......ไม่ใช่ โกรธ ตสฺส มา กุชุม มหาวีร ไม่ใช่ ๆ มา กุชุม มหาวีร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More