ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๕๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
(๔) ข้อความในสองประโยคนั้น จะต้องเป็นประโยคบอกเล่า
ประโยคหนึ่ง เป็นประโยคปฏิเสธประโยคหนึ่ง เช่น ถ้าประโยคต้นเป็น
ประโยคบอกเล่าประโยค กิมงค์ ปน จะต้องเป็นประโยคปฏิเสธ
ตัวอย่าง
:
ตาต มหลุลกสฺส หิ อตฺตโน หตุถปาทา อนสุสวา
โหนฺติ, น วเส วตฺตนฺติ, กิมงค์ ปน ญาติกา ฯ
(กิริยาในประโยค กิมงค์ ปน คือ วตฺติสฺสนฺติ) (๑/๒)
: เอวรูปสฺส นาม กฎจกลิงคลสาปี ชรา อาคจนติ
กิมงฺค์ ปน อตฺตภาวสฺส ฯ
(กิริยาในประโยค กิมงค์ ปน คือ น อาคมสฺสติ)
: เอวรูโป นาม อรหตฺตสฺส อุปนิสสยสมฺปนฺโน ภิกขุ
เอตตก์ กาล มาตุ กุฒิสม ทุกข์ อนุโภสิ, กิมงค์
ปน อญฺเญ ๆ (๔/๑๕๒)
(กิริยาในประโยค กิมงค์ ปน คือ น อนุภวิสฺสนฺติ)
สํานวนไทยสันทัด
สำนวนไทยสันทัดในที่นี้หมายถึง ข้อความที่แปลเป็นภาษาไทยนั้น
เป็นสำนวนไทยแท้ๆ เป็นภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน และไม่ได้แปล
ไปตามหลักเกณฑ์การแปลทั่วๆ ไป แม้จะแปลไม่ตรงตามศัพท์บาลี
ก็ไม่ถือว่าผิด เพราะไม่ทําให้เสียความอะไร แต่ทําให้เข้าใจง่ายขึ้น
ยกตัวอย่างเช่น ความไทยว่า “อาหารนั่น รับประทานเสีย”