การแยกศัพท์ในไวยากรณ์ไทย คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 157
หน้าที่ 157 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการแยกศัพท์ในภาษาไทย โดยแบ่งเป็นแยกศัพท์ผิดและถูก ในกรณีของการแยกศัพท์ผิดนั้นจะทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนไป ในขณะที่การแยกศัพท์ที่ถูกต้องจะต้องเป็นการแยกระหว่างศัพท์ที่มีความหมายชัดเจน เช่น ศัพท์สมาส การแยกศัพท์ที่ถูกต้องช่วยให้เข้าใจความหมายของประโยคได้ดีขึ้น ดังนั้น นักเรียนควรให้ความสำคัญกับการแยกศัพท์อย่างถูกต้องเพื่อให้ไม่เสียความหมายของภาษา.

หัวข้อประเด็น

-การแยกศัพท์ในภาษาไทย
-แยกศัพท์ผิดและถูก
-การศึกษาไวยากรณ์ไทย
-ความสำคัญของการแยกศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๑๔๑ (๔) แยกศัพท์ผิด หรือที่เรียกว่า “ฉีกศัพท์” คือแยกศัพท์ที่ เป็นศัพท์เดียวกันออกเป็น ๒ ตอน โดยวิธีเขียนส่วนหนึ่งไว้บรรทัดบน สุด บรรทัดพอดี เลยเขียนส่วนต่อมาไว้ที่บรรทัดล่าง เช่น ศัพท์ว่า สาวตฺถิย์ เขียน สาวๆ ไว้บรรทัดบน แล้วเขียน ถิย์ ไว้บรรทัดล่าง หรือเขียน สาวตฺถิ ไว้ข้างบน ต่อด้วย ยำ ข้างล่าง ดังนี้ชื่อว่า แยกศัพท์ผิด ฟังดูตัวอย่างการแยกศัพท์ผิดต่อไปนี้ โส เอกทิวส์ นหา- นติตถ์ คนตวา อาค ฉนฺโต อนุตรามคฺเค สม ปนฺนสาข์ ฯเปฯ อย่างนี้ถือว่าแยกศัพท์ผิดในทุกบรรทัด วิธีแยกศัพท์ที่ถูกต้อง คือ แยกได้เฉพาะศัพท์สมาสเท่านั้น และ แยกตรงรอยต่อระหว่างศัพท์ต่อศัพท์ คือเมื่อแยกออกแล้วสามารถรู้ ความหมาย และแปลได้ทั้งศัพท์ล่าง ศัพท์บน ขอให้ดูตัวอย่าง อถโข มหาโมคคลลานต เถโร สายหสมเย ราชคห นคร์ อคมาสิ ฯ เสฏฐี อตฺตนา ปาลิต วนป ปต์ นิสสาย ฯเปฯ ข้อนี้ ก็ใช้ได้ในภาษาไทยด้วย คือ อย่าแยกศัพท์จนเสียความ หมาย เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More