คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 164
หน้าที่ 164 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถแปลข้อความจากภาษาไทยเป็นภาษามคธได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะในกรณีที่มีความนิยมในการจัดเรียงคำให้เข้าใจง่ายขึ้น เช่น การอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันในสมัยพุทธกาล โดยรวมถึงตัวอย่างความหมายที่ชัดเจน เพื่อการศึกษาและใช้งานในบริบททางพุทธศาสนา เว็บไซต์ dmc.tv เป็นแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมที่สามารถให้รายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษา และปรัชญาต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-คู่มือแปลภาษา
-การศึกษา
-พุทธศาสนา
-ความเข้าใจภาษา
-การเรียงคำในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ หรือแปลเฉพาะตัวก็ได้ ความนิยมเช่นนี้เป็นความนิยมของภาษา ที่ต้องการตัดคำที่ซ้ำกันรุงรังออกเสียบ้าง และเพื่อให้ฟังเข้าใจได้รวดเร็ว เช่น - เมื่อไปในเวลาก่อนภัต ให้คนถือของที่ควรเคี้ยวเป็นต้น ไป เมื่อไปเวลาหลังภัตให้คนถือเภสัช ๕ และ ปานะ ๘ ไป ๆ (สำนวนสนามหลวง ป.๔/๒๕๒๑) : ปูเรตต์ คจฉนฺตา ขาทนียาที่นิ คาหาเปตวา คจฺฉนฺติ ปัจฉาภัตต์ ปญฺจ เภสัชชานิ อฏฐ จ ปานาน ฯ (๑/๔) ถ้าแต่งตามความไทยว่า : ปุเรตต์ คจฉันตา ขาทนียาทีนิ คาหาเปตวา คจฺฉนฺติ ฯ ปัจฉาภัตต์ คจฺฉนฺตา ปญฺจ เภสชฺชานิ อฏฺฐ จ ปานาน คาหาเปตวา คจฉนฺติ ฯ อย่างนี้ก็ใช้ได้ แต่ดูแล้วรุงรัง เพราะใช้ศัพท์เกินความพอดีไป : ความพิสดารว่า ณ พระนครสาวัตถี พระภิกษุ ๒ พัน รูปฉันที่เรือนของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีทุกวัน ของ มหาอุบาสิกา ชื่อว่าวิสาขาก็เหมือนอย่างนี้ คือว่าพระ ภิกษุ ๒ พันรูป ฉันที่เรือนทุกวัน ฯ (สนามหลวง ป.๔/๒๕๒๑) : สาวตถิย์ หิ เทวสิก อนาถปิณฑิกสฺส เคเห เทว ภิกฺขุ สหัสสานิ ภุญชนฺติ, ตถา วิสาขาย มหาอุปาสิกาย ๆ (๑/๑๔๑) ให้สังเกตดูว่า สนามหลวงแปลตามแบบพยัญชนะ และแปล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More