คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 318
หน้าที่ 318 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างรูปเคารพและพระพุทธรูปในคันธารราฐ โดยได้รับอิทธิพลจากการบูชาเทวรูปในศาสนาพุทธ และการพัฒนาแนวคิดในประวัติศาสตร์ศาสนา. ศึกษาความเชื่อและประเพณีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างพระพุทธรูปในสังคมโยนก รวมถึงข้อห้ามและการปฏิบัติที่แตกต่างจากแบบอินเดีย.

หัวข้อประเด็น

-การสร้างรูปเคารพ
-พระพุทธรูปในคันธารราฐ
-ความเชื่อทางศาสนา
-ประเพณีของพวกโยนก
-การเปลี่ยนแปลงของศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๐๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ชาวต่างประเทศ ไม่เคยถือข้อห้ามการทำรูปเคารพ คติศาสนาเดิมของพวกโยนก ก็เลื่อมใสในการสร้าง เทวรูปสำหรับสักการบูชาอยู่ด้วย เพราะเหตุดังนี้ พวก โยนกผู้ไม่ชอบแบบของชาวอินเดีย ที่ทำรูปสิ่งอื่นสมมติ แทนพระพุทธรูป จึงคิดหาพระพุทธรูปขึ้นในเครื่อง ประดับเจดีย์สถาน พระพุทธรูปจึงมีขึ้นในคันธารราฐ เป็นปฐม ๆ มคธ : ยาน หิ พุทธเจติยาน คนธารรฏเฐ มิลินทรชช สมเย กตานิ, ตานิ สพฺพาเนว มชฺฌิมปุปเทเส กตพุทธเจติยานํ ปฏิมา กมุมตนฺติ ยาว กตานิ อเหตุ ฯ ยสฺมา ปน ปูชนียวัตถุน สกการปูชน กรเณ อาณัตติ ชมพูที่ปโต วิเทสิเกหิ โยนก รฏฐวาสีติ สมภาวิตปุพพา นาโหสิ, เตสญฺจ โยนกรฏฐวาสน์ เทวรูปานํ สกการปูชนกรเณ นิยโม ปุริมศาสนคติยา สมภาวนีโยว ; ตสฺมา โยนกรฏฐวาสี ยถา ชมพูที่ปวาสน์ ยสฺส กสฺสติ พุทธปาท วลญชาติรูปสฺส พุทธรูปปฏิรูปกฎตสฺส สกการปูชน กรเณ นิยโม โหติ, เอวมนิจฉมานา พุทธรูปานิ เจติยฏฐานาน อลงการภูตานิ กาตุ มนสิกที่สุ ฯ เอว พุทธรูป สพฺพปฐมเยว คันธารราฐ ปาตรโหสิ ฯ (สนามหลวง ๒๕๒๔)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More