หลักการแต่งไทยและมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 321
หน้าที่ 321 / 374

สรุปเนื้อหา

การศึกษาเกี่ยวกับการแต่งไทยและมคธ โดยมีการเปรียบเทียบสำนวนการเขียนระหว่างสองภาษา เพื่อแสดงให้เห็นถึงหลักการและแนวคิดในการพัฒนาประเทศ ผ่านการสร้างเอกภาพและการเจริญเติบโตของพานิชการ เมืองที่มีพานิชการจะมีความเข้มแข็งและพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว โดยอ้างอิงถึงความมั่นคงของประเทศที่เกิดจากพระราชอำนาจและการปฏิบัติตามธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การแต่งไทย
-การแต่งมคธ
-การพัฒนาประเทศ
-พานิชการ
-เอกภาพของชาติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๓๐๕ สำนวนนั้นได้เลย แม้จะมีดัดแปลงบ้างเล็กน้อย ก็ยังถือได้ว่าแต่งตาม ความเช่นเดียวกัน จึงดูสำนวนสนามหลวงที่ท่านแต่งไว้เป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้เทียบเคียง ไทย : การที่ประเทศไทยของเรานี้ดำรงเอกราชความเป็นอิสระ และความปกติมั่นคงอยู่ได้โดยสวัสดี ทั้งที่ประเทศเพื่อน บ้านหลายแห่ง ต้องประสบความวุ่นวายเดือดร้อนอยู่ อย่างหนักนั้น ก็ด้วยพระบารมีแห่งใต้ฝ่าละอองธุลีพระ บาท ที่ทรงยึดมั่นอยู่ในธรรมปฏิบัติปกเกล้าปกกระหม่อม อยู่ ฯ มคธ : อย ปนมหา ทยุยเทโส สามนฺตปุปเทเสสุปิ มหาโกลาหลปุปตุเตสุ สติ อธิมดตทุกฺขปุป เตสุ จ โย มหาราชา ธมมานุธมฺมปฏิปัตติยา สุสมาหิโต ตสฺสานุภาเวเนว สกโกติเยว โสตถินา อตฺตโน โหติ, เอกรชช์ อิสสริย์ ถาวรญฺจ สนฺติ สุสวิทิตารกข์ อภิรกฺขิต ฯ ไทย : บุคคลใดมีกำลังกายบริบูรณ์อยู่ ก็อาจมีความเจริญทัน เพื่อนบ้านได้ ถ้าผู้ใดยิ่งมีกำลังกายมาก ก็ยิ่งมีหนทาง ฉันใด ให้จำเริญได้มากและรวดเร็วขึ้นเป็นลำดับได้ พานิชการก็เป็นกำลังของชาติบ้านเมือง ฉันนั้น เมือง ใดมีพานิชการก็เหมือนมีกำลัง พานิชการยิ่งมาก กำลัง และอำนาจแห่งชาติก็ยิ่งมากขึ้นตามลำดับ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More