คำอธิบายเกี่ยวกับประโยคแบบในสำนวนนิยม คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 161
หน้าที่ 161 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับประโยคแบบในสำนวนนิยม และการใช้ประโยคที่มีความหมายคงที่ในภาษาไทย มีการอธิบายประเภทประโยคต่าง ๆ เช่น ประโยคต้นเรื่องและประโยคคอคาถา ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจและใช้ประโยคได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ ยกตัวอย่างการใช้ประโยคแบบในวรรณกรรมไทยและแนวปฏิบัติที่แนะนำสำหรับการดำเนินการใหม่ในภาษามคธ ให้นักเรียนสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ในบริบทที่เหมาะสม.

หัวข้อประเด็น

-การใช้ประโยคแบบ
-สำนวนนิยมในภาษาไทย
-ประเภทของประโยคในวรรณกรรม
-การเข้าใจวิธีใช้ประโยคแบบ
-การแปลและสร้างสำนวนนิยม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำนวนนิยม ๑๔๕ สํานวนมคธ ประโยคแบบ ประโยคแบบ คือ ประโยคที่ท่านวางสำนวน หรือศัพท์ไว้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง แม้จะแปลยักเยื้องไปอย่างไร ก็คงรูปอยู่อย่างนั้น ประโยคเช่นนี้ มีใช้มาก ขอให้นักศึกษาให้ได้แม่นยำขึ้นใจไว้ดีกว่าที่ จะคิดแต่งเองใหม่ ประโยคแบบที่ใช้ทั่วไปมีไม่กี่ประโยค ดังนี้ (๑) ประโยคต้นเรื่อง คือ ประโยคขึ้นต้นเรื่อง ก่อนที่จะถึง ท้องนิทาน คือ ติ อิม ธมฺมเทสน์ ส..........................อาารพภ กเถา ฯ ช่องว่าง.............................ข้อความ สถานที่ ประทับ และบุคคล เช่น : ปเร จ น วิชานนฺตีติ อิม ธมฺมเทสน์ สตฺถา เชาวเน วิหรนโต โกสมพิเก ภิกขู อารภ กเถ ฯ (๑/๔๙) (๒) ประโยคคอคาถา คือ ประโยคที่จะตรัสพระคาถา ก่อน ที่จะเป็นรูปพระคาถาก็มีคำเชื่อม มีรูปประโยค ดังนี้ : อนุสนธิ์ ฆาตวา ธมฺม เทเสนโต อิม คาถมาห ฯ (อิมา คาถา อภาสิ ฯ) ประโยคคอคาถาแบบนี้เป็นแบบที่พบเห็นทั่วไป บางแห่งท่านเติม อุปมาเข้ามา บางแห่งท่านใช้ไม่ครบ อันนี้ขอให้ดูความไทยเป็นหลัก เช่น : อิท วัตถุ กเกตวา อนุสนธิ์ ฆเกตวา ปติฏฺฐาปิตมตฺติก สาสน์ ราชมุททาย สญฺฉนฺโต วัย ธมฺมราชา คาถมาห์ ๆ (๑/๒๐) อิม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More