คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 144
หน้าที่ 144 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือการแปลไทยเป็นมคธนี้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยนักเรียนในระดับ ป.ธ.๔-๙ แนะนำการใช้ภาษาที่ถูกต้อง โดยมีการอธิบายเกี่ยวกับประโยคภาววาจกและเหตุกัตตุวาจก โดยเฉพาะประเด็นสำคัญว่าประโยคภาววาจกมีการใช้ที่เป็นพื้นฐานและข้อควรระวังในการใช้อย่างไร เพื่อให้การแปลและการใช้ภาษาเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ที่สามารถช่วยนักเรียนเข้าใจและนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการอธิบายข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการแปล และวิธีหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิดซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษามคธในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การใช้ประโยคภาววาจก
-เหตุกัตตุวาจก
-ข้อควรระวังในการแปล
-ตัวอย่างการใช้ภาษา
-ข้อผิดพลาดในการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๒๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ประโยคภาววาจกมีที่ใช้น้อย ส่วนมากมักพบในรูปของปัจจัยในกิตก์ คือ ดพพ ปัจจัย เป็นพื้น ในรูปของอาขยาตมีน้อย เช่น : เตน ภูยเต ๆ (เน้นความเป็นของเขา) : (อยเยน) ทิวา น นิททายิตพพ์ ฯ (เน้นกิริยานอน) (๑/๖๓) : (อยเยน) อกุสเตน ภวิตพพ์ อารทธวิริเยน ฯ (๑/๖๓) (เน้นความเป็น) : (อยเยน) สาย สพฺเพสุ สุตฺเตสุ วิหารโต อาคนฺตพฺพ ปจ สกาเล ส เพสุ อนุฏฐหิเตสุเยว วิหาร คนต พี ฯ (เน้นกิริยาอาการ) (๑/๖๓) มีข้อควรระวังอย่างหนึ่งคือ ประโยคภาววาจกนี้ กิริยาจะต้อง เป็นอกัมมธาตุเท่านั้น บางครั้งนักศึกษาไปพบศัพท์กิริยาสกัมมธาตุมีรูป ร่างเหมือนกิริยาภาววาจกเข้า และศัพท์นั้นท่านมิได้วางประธานหรือ กรรมไว้ให้เห็น ก็เหมาเอาว่าเป็นภาววาจก อย่างนี้เรียกว่าผิดสัมพันธ์ เช่น : เย น เทนติ, เตสํ น ทาตพุฒิ ฯ (๓/๖๒) : สุข ภุญชิตพพ์ ฯ (๓/๖๓) : ตตฺถ เวทิต พั (ดูในมงคลตฺถทีปนี) ๔. เหตุกัตตุวาจก (ศัพท์กล่าวถึงผู้ทำอันเป็นเหตุ-ผู้ใช้ให้ทำ) ใช้ในกรณีที่ข้อความประโยคนั้น เน้นผู้ใช้ให้ทำกิริยาอาการนั้น มิได้เน้นตัวผู้ทำหรือผู้ถูกใช้ให้ทำ หรือสิ่งที่ถูกทำแต่ประการใด ทั้งผู้ใช้ นั้นก็มิได้ท่ากิริยานั้นเองด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More