วิวัฒนาการแปล ภาค 3 ตอน 1 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 13
หน้าที่ 13 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคำว่า 'อรรถ' และ 'ธรรม' ในบริบทของพระพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นถึงความรู้ที่เกิดจากการศึกษาพุทธธรรม ความแตกต่างและประเภทของอรรถธรรมทั้ง 5 อย่าง เช่น ความรู้ในทุกข์และวิธีการบรรลุพระนิพพาน ซึ่งพิจารณาโดยปฏิปัสมิภิกะ และความสัมพันธ์กับอวิชชาและอริยธรรมในกระบวนการปฏิบัติ ตลอดจนแนวทางการเข้าถึงผลที่เกิดจากเหตุที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์อรรถ
-ธรรมในพระพุทธศาสนา
-ปฏิปัสมิภิกะ
-แนวทางการปฏิบัติ
-ผลแห่งเหตุที่เป็นอิสระ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิวัฒนาการแปล ภาค 3 ตอน 1 - หน้าที่ 13 [อัคคปฏิปัสมิภิกะ] ในวัฏฏะ นั้น คำว่า "อรรถ" นั้น โดยสังเขปเป็นคำเรียกผลที่ เผิดมานแต่เหตุ จริงอยู่ ผลที่เผิดมานแต่เหตุ ท่านเรียกว่า "อรรถ" เพราะเหตุที่คือได้บรรลโดยท่านเองแห่งเหตุ (คือเป็นไปตามเหตุ) แต่ (ว่า) โดยประเภท ธรรม ๕ นี้ คือสิ่งที่เกิดเพราะปัจจัยอย่างใด อย่างหนึ่ง พระนิบพาน เนื้อความแห่งภาค วิภา กิริยา พิงทราบ ว่าชื่ออรรถ ความรู้ร้อนถึงความแตกต่างในอรรถนั้น แห่งบุคคลผู้ พิจารณาอรรถนั้น ชื่อว่า อัตปฏิปัสมิภิกะ [ชมมปฏิปัสมิภิกะ] คำว่า "ธรรม" นั้นเล่า โดยสังเขปก็เป็นคำเรียกปัจจัย จริงอยู่ ปัจจัย ท่านเรียกว่า "ธรรม" เพราะเหตุที่จะแจงผลนั้น ๆ คือยังผลนั้น ๆ ให้ เป็นไปหรืออำนวยให้จนผลนั้น ๆ แต่ (ว่า) โดยประเภท ธรรม ๕ นี้ คือ เหตุที่ยังผลให้เกิดอย่างใดอย่างหนึ่ง อธิบรรทิวาภาค คูสด อุคุต พิสูจน์ว่าชื่อธรรม ความรู้ร้อนถึงความแตกต่างในธรรม นั้นแห่งบุคคลผู้พิจารณาธรรมนี้ ชื่อว่ำมปฏิปัสมิภิกะ แท้จริง ความ (ที่แสดงอรรถธรรมเป็น ๕ ๆ) นี้แสดง ท่าน จำแนกแสดงไว้ในอรรถธรรมโดยย่อว่า "ความรู้ในทุกข์เป็นอัตปิปัสมิภิกะ ภิกขา ความรู้ในทุกข์สุขเป็นมรรคปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในทุกข์นิรมฺ เป็นอัตปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในทุกข์นิรมฺโรคามิปฏิบาท เป็นอัตปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในทุกข์นิรมฺโรภา มีปฏิบาท เป็นมรรคปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในทุกข์นิรมฺโรภา มีปฏิบาท เป็นมรรคปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในเหตุ เป็นมรรคปฏิปัสมิภิกะ ความรู้ในผลที่ผลิตมาแต่ . จัดพระนิพพานเป็นผลอย่างไรอยู่ ? น่าจะกล่าว "อิสระผล" จะได้ข้ากับ 'อริยธรรม' ในมรรคปฏิปัสมิภิกะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More