ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิวัฒนาการเปล ภาค ๑ ตอนที่ 103
อย่างเดียวย ไม่มีปิราม ยถา ที่เหลือ มีปิราม
ประเภทรูปภายในการและรูปภายนอก มีนัยดังกล่าวมาแล้วนั้นแ
ถึงว่า ในสุดตนเองนี้ พึงทราบว่า แม้ว่ารูปนี้อาจอยู่ในตนของตน
ก็จัดเป็นภายใน และแม้ว่ารูปนี้เป็นของบุคคลอื่น ก็จัดเป็นภายนอกด้วย
ประเภทรูปหยาบ และรูปละเอียด มีนัยดังกล่าวแล้วเหมือนกัน
ประเภทรูปเลว และรูปประณีต เป็น ๒ คือ เป็นรูปเลวและ
ประณีตโดยเรียบ ๑ (คือแยกเป็นขั้น ๓ ) โดยแบ่ง เป็น ๑ (คือ
๑. มหาภิกท่านว่าคำว่า “ก่อนนั้นจัดเป็นอนาคต หลังนั้นจัดเป็นอดีต” ในขณะก็ก่อนนั้น เป็นคำไม่มีปิราม Because ไม่มีความแตกต่างเหมือนอย่างในอธิกรณ์ ยังอยู่ โดยอธิกรณ์เป็นต้น มีปิราม คือแยกกันได้เป็นประเภท ๆ อธิธรรมมีอย่างหนึ่ง อนาคตธรรมมีอย่างหนึ่ง ปัจจุบัน
ธรรมมีอย่างหนึ่ง เช่นว่ารูปก่อนปฏิจจสมุปปุเทเป็นประเภทหนึ่ง จัดเป็นอดีต รูปแต่จุดไม่ก็เป็น ประเภทหนึ่ง จัดเป็นอนาคต รูปในระหว่างปฏิญและจุด ก็มีเป็นประเภทหนึ่ง จัดเป็นปัจจุบัน
แต่เมื่อใดกะนะ หามีอะไรที่จะเแยกประเภทธรรมอย่างนั้นไม่ได้ มีแต่เเบกอากาศเท่านั้นเอง คือก่อน
เกิดเป็นอนาคต กำลังเป็นไปอยู่ในขณะ ๓ เป็นใจกลาง ๓ ไปแล้วก็เป็นอดีต เพราะ
ฉะนั้น จึงว่าไม่มีปิราม เพราะไม่มีรูปที่พูดกล่าวว่าเป็นอดีตนาก โดยอธิยบายอะไรสัก อย่างเหมือนอย่างอธิฐานเลย
2. มหาภิกท่านอธิบายว่า ความที่ว่าภายในภายนอกนั้น มีศัพท์ใช้ ๒ คู่ คือ อุมาตกิ เค้า กับพาหิร คู่หนึ่ง อุมาตกิ กับพหิรทู ตามนั้น แปลว่าภายในและภายนอกเหมือนกัน แต่ใช้หมาย
ความต่างกันก็มี เช่นชุดก็ติศศัพท์ (ที่ใช้นาคำวาอยตนภายใน) ย่อมหมายเอาเท่ากับของมีจุก
เป็นต้นที่เป็นไปในสัตตานะของตนและคนอื่น พาทิศศัพท์ (ที่ใช้ในคำว่าอยตนตนะภายนอก) ก็
หมายเอารูปเป็นต้นของตนและของผู้อื่น ส่วน อุมาตกิ ศัพท์ เช่นที่ไว้ในนี้ ย่อมหมายเอา
สิ่งที่เป็นรูปล้อนเป็นไปในสันตนาของตนแห่งสัตว์นั้นๆ เท่านั้น ส่วนพหิรทูศัพท์ก็มาหมายถึงสิ่งที่เป็น
รูปเป็นไปจากของตน เพราะฉะนั้น อุมาตกิศัพท์และพหิรทูศัพท์นี้ จึงไม่เหมือน อุมาตกิศัพท์
และพหิรทูศัพท์ที่กล่าวแล้วว่าเป็นเดียว