วัฒนธรรมและอัตตาในมุมมองพุทธศาสนา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 396
หน้าที่ 396 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอความคิดเกี่ยวกับอัตตาและอวิชชาผ่านการเปรียบเทียบและธรรมนูญ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตตา วิญญาณ นามรูป และสิ่งที่เกิดขึ้นจากการรับรู้และประสบการณ์ ซึ่งอาจทำให้เกิดความเห็นผิดได้ การพิจารณาเหล่านี้ทำให้บัณฑิตมีโอกาสเข้าใจโดยใช้หลักธรรมและการวิเคราะห์เพื่อให้เห็นธรรมชาติที่แท้จริงของสิ่งต่างๆ ปรากฏการณ์เกิดขึ้นจะถูกสังเคราะห์ด้วยสถานการณ์และปัจจัยต่างๆ การตีความและเปรียบเทียบในฌานเหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้ตั้งคำถามต่อความเข้าใจของตนเองในหลักของการดำรงชีวิต

หัวข้อประเด็น

- อัตตา
- อวิชชา
- ความเข้าใจทางพุทธศาสนา
- การเปรียบเทียบ
- วัฒนธรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วัฒนธรรม เปล่า กด ดอน ๑ - หน้าที่ 395 เห็น ฯลฯ อัตตารู้สึก อัตตาสัมผัส อัตตาเสวย (เวนานา) อัตตาอยาก อัตตาถือมัน อัตตามเป็น อัตตามเกิด อัตตามแก่ อัตตาอย่ งนี้เป็นต้น เหตุนี้ ภาวะนั้น บัณฑิตพึงพิจารณาโดยเป็นเครื่องกันความเห็นผิด ตามควร [โดยอุปมา] อีกข้อหนึ่ง เหตุใด ในองค์เหล่านี้ อวิชชาชอบมาหือเหมือนคนบอด เพราะไม่เห็นธรรมทั้งหลายโดยลักษณะประจำตัว (ของธรรมนัน ๆ ) ทั้งโดยสามัญลักษณะ สังขารอันมีเพราะปัจจัยคืออวิชชา เหมือนการ ก้าวลากของคนบอด วิญญาณอันมีเพราะปัจจัยคือสังขารเหมือนการ กล้ามของคนก้าวลาก นามรูปอันมีเพราะปัจจัยคือวิญญาณ เหมือนการ ความเกิดเป็นผลสิ้นแห่งคนกลัว สายตะคันมีเพราะปัจจัยคือ นามรูป เหมือนด้อม (หัวคิอ่นคืนดีเพื่อให้) ผีเฝต ผัสสะอันมี เพราะปัจจัยคือสายตะ เหมือน (อะไร) กระทบต่อผีเข้า เวทนา อันมีเพราะปัจจัยคือผัสสะ เหมือนความทุกข์ (เจ็บปวด) เกิดแต่การ กระทบ ต้นหาอัปปมหมีเพราะปัจจัยคือเวทนา เหมือนความปรารถนาแก้ ทุกข์ อุปาทานอันมีเพราะปัจจัยคือดินา เหมือนการค้าขายแสดง ด้วยมุ่งแต่จะแก่ (ทุกข์) ภาพอันมีเพราะปัจจัยคืออุปาทาน เหมือนการ ทายาเสนงที่ดินคือ ชาติอันมีเพราะปัจจัยคือภาพ เหมือนเกิดเป็นฝี กลาย เพราะทายาเสงเข้า ชรามะอันมีเพราะปัจจัยคืออาศิ เหมือนกันเป็นฝี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More