วิทยามรรลบภาค ๓ ตอนที่ ๑๒ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 313
หน้าที่ 313 / 405

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับรูป ๑๐ และ ๑๓ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดของสัตว์ในกำเนิดที่แตกต่างกัน โดยวิจัยถึงอำนาจแห่งกาลที่มีผลต่อการเกิดของสัตว์ทั้งในกำเนิดสังเทศและโอปะตะ การวิเคราะห์นี้จะแบ่งออกเป็นการเกิดในรูปพรหมและความเกี่ยวข้องกับชีวิต โดยมีรายละเอียดในการกำหนดกาลและการมีอยู่ของจิตวิญญาณที่แตกต่างกันในหมู่สัตว์และเทพ.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเกี่ยวกับรูปและวิวัฒนาการ
-การเกิดของสัตว์ในกำเนิดต่างๆ
-อำนาจแห่งกาล
-จิตวิญญาณในสัตว์
-รูปพรหมและชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยามรรลบภาค ๓ ตอนที่ ๑๒ โดยกำหนดอย่างสูง รูป ๑๐ ย่อมเกิดในสัตว์จําแนกว่าพวก ที่เกิดในกําเนิดสังเทศและอุปาปตะ อีกอย่าง หนึ่ง โดยกำหนดอย่างต่ำ รูป ๑๓ ย่อมเกิด [ขยายความ] อันดับแรก รูป ๑๐ และ ๘ ด้วยอำนาจแห่งกาลป ๔ คือคำพูด- ทละ โสตทะสะ วัตถุสะกะ และชีวิตนวะ ย่อมเกิดขึ้นพร้อมกับ ปฏิสนธิวิญญาณ ในเหล่าสัตว์ผู้เกิดในกำเนิดโอปะตะในอาพาธรูป พรหม ส่วนว่าโดยกำหนดอย่างสูง รูป ๑๐ ด้วยอำนาจแห่ง (กาล- ๓ คือ) จัตุขละสะ โสตทะสะ มานสละสะ ชิวาหะสะ กายสละสะ วัตถุสละสะ และภาวะสละ ย่อมเกิดขึ้นพร้อมด้วยปฏิสนธิวิญญาณใน เหล่าสัตว์ที่เกิดในกำเนิดสังเทศและโอปะตะในอาพาธ รูปพรหม อันรูป ทั้ง ๓๐ นั้นย่อมเกิดขึ้นในจาพวกเทพเป็นนิจ ในสกะเหล่านั้น กลุ่มรูปมีปริมาณรูป ๑๐ นี้ คือ สี กลิ่น รส โอชา อีกาธุ ๔ จักษุประสาท และชีวิต ชื่อจักษุสละสะ (๑๐ ทั้ง จักษุ) ทะกะที่เหลือก็พึงทราบโดยยกดับนี้ ๑. มหาฤก ว่า องฺค สํพทีเป็นวิสสะแนของโอปะติกะเท่านั้น เพราะฉนั้นถ้าจะให้ ชัดควรเรียงว่า "รูปพรหมม ปุนฺ จนฺเปา อนุกตฺ โอปะติกสํ สําหฤ โ' ๒. มหาฤก ว่า เพราะพวกเทพไม่มีอิทธิฤทธิ์และไม่เกษม จึงรุ่งอรุณสืบต่อไป จนสิ้นชีพ ๓. นี้ท่านดับวามากจากกากา ถ้าเริ่มตามว่าควรเป็น ก็อควรเรียงว่าคฑูฒ ๔ และ สี กลิ่น รส โอชา ชิวิต[ี] กับจักษุ ปริมาณเพียงชีวิต เรียกว่าชีวิตนวะ (๕ กับชีวิต) แผ่นจัน เข้าจึงเป็นจักษุสละสะ (๑๐ ทั้งจักษุ) ถ้ามีโสด ก็เป็นโสดภะ (๑๐ ทั้งโสด) ฯลฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More