วิถีธรรมคือเปล่า: การปฏิบัติและการหลุดพ้น วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 207
หน้าที่ 207 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจความเข้าใจและการปฏิบัติในวิถีธรรมซึ่งเกี่ยวข้องกับการหลุดพ้นและความคิดเกี่ยวกับพระอิศวร โดยอธิบายว่าการแยกแยะสิ่งต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจที่ผิดพลาดเกี่ยวกับความสุขและตัวตนที่ไม่มีความยั่งยืน เนื้อหายังเน้นว่าแม้สุขและความงามจะมีในรูปแบบต่างๆ แต่ในที่สุดแล้วสิ่งทั้งปวงนี้เป็นเพียงความเข้าใจที่ไม่ถาวร ผู้เขียนเรียกร้องให้กลับมาทบทวนและพิจารณาเห็นถึงความจริงในสิ่งที่เราเรียกว่าอิสรภาพจากทุกปัญหา โดยการพิจารณาความเป็นจริงเป็นแนวทางแห่งการหลุดพ้นจากทุกสภาวะ.

หัวข้อประเด็น

-วิถีธรรม
-การหลุดพ้น
-พระอิศวร
-บทบาทของความเข้าใจ
-การแยกแยะความจริง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมคือเปล่า ภาค ๑ ตอนที่ ๑ หน้า ที่ 206 ญาณ ยังความปฏิบัติผิดในผล กล่าวคือความสำคัญยั่งยืน ว่างาม ว่าเป็นสุข ว่าเป็นตัวตน ในขันธ์ทั้งหลายอันปราศจากความยั่งยืน ความงาม ความเป็นสุข ความเป็นตัวตน ให้กลับ สมถะญาณ ยังความปฏิบัติผิดในเหตุ อันเป็นไปโดยความถี่ถ้วนในสิ่งที่มีใช่หรือเป็นเหตุ เช่นว่า "โลกอ่อนเป็นไปโดยท่านผู้เป็นใหญ่ (พระอิศวร) โดยสิ่งที่เป็นประธาน โดย (พระ) กาล และโดยสภาวะ (ความเป็นองค์) เป็นต้น" ให้กลับ นิรัญญา ยังความปฏิบัติผิดในนิรัญญา อันได้แก่ความอึ๋ยว ความหลุดพ้น (มี) ในอรูปโลและในโลภูปก (ภูมิที่อวะเป็นยอดโลก) เป็นต้น ใหกลับ มรรญญา ยังความปฏิบัติผิดในอุบาย ที่เป็นไปโดยอำนาจความถี่ถ้วนในสิ่งที่มีใช่ทางแห่งวิสุทธิ อันต่อมโดยกษัตริย์คลิกบาลญาณโยคและอัตติลมาญโย ว่า เป็นทางแห่งวิสุทธิ ให้กลับ เพราะเหตุนี้นั่นจึงกล่าวคำประณีตนี้ ๑. มหาภูฏาว่า พวกที่ถือว่าสรรเสริญพระอิศวรเป็นผู้กดั่งโลก เรียกว่า อิศวราภรณ์ (ถือว่า พระอิศวรเป็นเหตุ) พวกที่ถือว่า โลกปรากฏขึ้นโดยสิ่งที่เรียกว่าประธาน (เรียก ปกติ หรือ ประกฎก็มี) และประธานนั้นก็อ่อนอยู่ในโลภัญเอง เรียกว่าปกตินิยม (ถือว่าประธานเป็นเหตุ) พวกที่ถือว่ากษัตริย์สร้างสัตว์ พระกษัตริย์สร้างสัตว์ ฯลฯ เรียกว่าอาวุธ พวกที่ถือว่าโลกเป็นตกกะ สภาวะ เช่นเป็นของมันเอง เช่น ความแหลมของหนาม ความกลมของผลมะขวิด ความมีลายหลาก ๆ ของเนื้อและสมันต์ เรียกว่าสวาทิ ฯลฯ ๒. ประตะพิมพ์ว่าเป็น อุปุปาต... แต่ในมาทกัปเป็น อุปุป... และไวจา โมกข์ ๓. มหาภูฏว่า ความอึ๋ยวความหลุดพ้นมีในรูปโล เช่นความอึ๋ยวอุทกบาค และอพาราคในเป็นต้น ความอึ๋ยวความหลุดพ้นมีในโลภภูติา เช่นความอึ๋ยวของพวก นิครนถ์เป็นต้น โลภภูติา- ยอดโลก น่าจะได้กันกับ ภวะคะ- ยอดภาพ ในคัมภีร์ฝ่ายเรา ดังคำว่า ภวคะพรหม - พรหมในพุทธสูงสุด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More