วิฤทธีมหรแปล ภาค ๑ ตอน ๑ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 82
หน้าที่ 82 / 405

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการอธิบายเกี่ยวกับความตรงของกายและจิต ที่เรียกว่า กายสูตร และจิตสูตร รวมถึงหลักการต่างๆ ที่ช่วยให้บันฑิตเห็นถึงปฏิ aaบต่อธรรมชาติของกายและจิต ความสำคัญในการเข้าใจอารมณ์และการทำความเข้าใจในเรื่องของฉันทะและอธิโมกข

หัวข้อประเด็น

- กายสูตร
- จิตสูตร
- ปฏิ aaบ
- อุปกโลสมายา
- ฉันทะ
- อธิโมกข

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิฤทธีมหรแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้าที่ 81 ปาคุณญาณนี้ บันฑิตพึงเห็นว่า เป็นปฏิ-aaบต่ออาบรรมี อัสสัมยะเป็นต้น ที่ทำความเป็นไพร แห่งกายและจิต [๒๖.๒๒ กายสูตร จิตสูตร] ความตรงแห่งกายชื่อว่า กายสูตร ความตรงแห่งจิต ชื่อจิตสูตร กายสูตรielและจิตสูตรนั้น มีความชื่อรงแห่งกายและจิตเป็นลักษณะ มีอันบีอความคงแห่งกายและจิตออกไปเป็นรส มีความไม่คง (แห่งกายและจิต) เป็นปัจจุปัน มีภายและจิตเป็นทักษะ อุปกรณ์นี้ บันฑิตพึงเห็นว่า เป็นปฏิ aaบต่ออุปกโลสมายาและ สาไถย์เป็นต้น ที่ทำความคดโกงแห่งกายและจิต [เยวาปนาสังขร ๔] [๑ ฉันทะ] คำว่าด่านะนั่น เป็นคำเรียกก็ดูกูฎมาดา (ความใคร่จะทำ) เพราะเหตุนี้ ฉันทนั่น จึงมีความใคร่จะทำเป็นลักษณะ มีอันแสดง หาอารมณ์เป็นรส มีความต้องการด้วยอารมณ์เป็นปัจจุปัน อารมณ์ นั้นแหละเป็นปัจจุบันของฉันทนั่น อันฉันทน นี้ ในการจะถืออารมณ์ บันฑิตพึงเห็นว่ามีดัง ได้นั่งมือออกไป นั่น [๒ อธิโมกข] ความน้อมใจชื่อ ชื่ออธิโมกข อธิโมกขนันมีการลงความเห็น เป็นลักษณะ มีอันไรวามรเป็นรส มีความตัดสินใจเป็นปัจจุบัน มีสันนิษฐานธรรม (เรื่องที่จะต้องลงความเห็น) เป็นปัจจฐาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More