ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิญญาณอุปทานใน คาถา ๑ หน้าที่ 117
แห่งอุปปาทาน นี้เรียกวา สัญญาอุปาทานั้น สังขารทุกอย่าง ฯลฯ
เป็นไปกับอาสวะ เป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน นี้เรียกว่า สังขารอุปาทานนั้น วิญญาณทุกอย่าง ฯลฯ เป็นไปกับอาสวะ เป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน นี้
เรียกว่า วิญญาณอุปาทานนั้น คูณภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า อุปาทานขันธ์ ๕ ดังนี้
ก็แล้วในขันธ์ทั้งหลายนี้ ขันธ์ ๕ มีความเป็นต้น เป็นอาสวะ
บ้างก็มี เป็นสาระบ้างก็มีฉันใด รูปเป็นฉันนั้น ไม่แต่เพราะเหตุที่
รูปนั้น เป็นขันธ์ก็ถูก ค่อยอรรถว่าก็เป็นกอง เหนือฉันนั้นจงตำรับร่าไว้ในพวก
ขันธ์ (แท้) (และ) เพราะรูปนั้น เป็นอุปาทานขันธ์ก็ถูก ค่อยอรรถว่าเป็นกองด้วย ค่อยอรรถว่าเป็นสาระด้วย เหตุฉนี้ จงตำรับร่าไว้ใน
พวกอุปาทานขันธ์ ส่วนขันธ์ ๕ มีความเป็นต้น ที่เป็นอาสวะ
ครัสไว้ในพวกขันธ์ (แท้) เท่านั้น ที่เป็นคราสะครัสไว้ในพวก
อุปาทานขันธ์
ก็แล้วเนื้อความในคำว่า “อุปาทานขันธ์” นี้ บัดนี้ติ่งเห็นว่า
“ขันธ์ทั้งหลายเป็นที่โจรแห่งอุปาทาน ชื่ออุปาทานขันธ์” ดังนี้ก็ดิ
แต่ในปกรณ์วิสุทธิธรรมคำนี้ หมายเอาทั้งขันธ์ (แท้) ทั้งอุปาทาน
ขันธ์ หมดนั้นรวมกันเข้าว่า “ขันธ์”
[นัยโดยไม่หย่อมไม่ยิ่ง]
ข้อว่า “โดยไม่หย่อนไม่ยิ่ง” มีวิจารณ์ว่า ถามว่า เพราะเหตุ
อะไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสนั่นเด่น ๕ เท่านั้นไม่หย่อนไม่ยิ่ง ?
แก้ว่า เพราะทรงสงเคราะห์ (รวมรวบ) สังขตธรรมทั้งปวงเข้าส่วม