วิทยาธีรมรรคแปล: อายยะและอุปะยะ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงแนวคิดเกี่ยวกับอายยะ (ความก่อขึ้น) และอุปะยะ (ความดับขึ้น) ในวิทยาธีรมรรค โดยอธิบายด้วยอุปมาที่ช่วยในการเข้าใจความหมายของแนวคิดเหล่านี้ ต้องอาศัยการสังเกตพฤติกรรมของน้ำในหลุม ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ชัดเจน ที่แสดงให้เห็นถึงการเกิด การเติบโต และการเป็นไปในรูปแบบต่างๆ ของอายตนะ นำมาซึ่งความเข้าใจในการศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดในระดับลึก

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาวิทยาธีรมรรค
-อายยะและอุปะยะ
-การตีความทางปรัชญา
-อุปมาที่เข้าใจง่าย
-การวิเคราะห์อายตนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยาธีรมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ที่ 35 นั่นในนิทแห่งบทเหล่านี้ จึงกล่าวไว้ว่า “อายยะ (ความก่อขึ้น) แห่งอายตนะทั้งหลายอันใด รูปสุขอุปถะ (ความเดิมแห่งรูป) ก็อันนั้น รูปลสุขอุปถะอันใด รูปลสันติ (ความสิ้นเนื่องแห่งรูป) ก็อันนั้น ดังนี้ แมโอตรถกก็กล่าวว่า “ความกิดขึ้น ชื่อว่าอายยะ ความ เติบขึ้น ชื่อว่าปุปยะ ความเป็นไป ชื่อว่าสันตติ” แล้วทำอุปมาว่า “อายยะ ได้แก่ความเกิด เหมือนเวลาที่น้า (ชม) ขึ้นในหลุมเขาบูด ไหวร่มฝั่งน้ำ อุปะยะ ได้แก่ความดับขึ้น เช่นเดียวเวลาที่น้ำเต็ม (หลุม) สมดั่งได้แก่ความเป็นไป เหมือนเวลาที่น้ำล้น (หลุม) ไปนะนั้น” และใน ที่สุดแห่งอุปมาท่านกล่าวว่า “ตามว่า ด้วยคำนินทผล (ที่ว่า “อายยะ (ความ ก่อขึ้น) แห่งอายตนะทั้งหลาย) เป็นต้น” อย่างนั้น เป็นอ่อนท่านกล่าว ข้อความอะไร ? (ตอบว่า) ท่านกล่าวอายยะด้วยอายตนะ กล่าวอายตนะ ด้วยอายยะ” ดังนี้ เพราะเทดูนั่นความกิดขึ้นก็แรกแห่งวัฏหลาย อันใด อันนั้นพึงทราบดังว่า เรียกว่าอายยะ ความกิดขึ้นแห่งรูปเหล่า อื่นอันเกิดต่อมรูปเหล่านั้นขึ้นไปอันใด อันนั้นพึงทราบว่าเรียกว่า อายยะ เพราะปรากฏโดยอาการตื่นขึ้น ความกิดขึ้นแห่งรูปล่า อันอันเกิดต่อเติมรูปเหล่านี้ขึ้นไปอันใด อันนั้นพึงทราบว่าเรียกว่า อุปะยะ เพราะปรากฏโดยอาการตื่นขึ้น ความกิดขึ้นแห่งรูปล่าอื่น ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More