วิญญาณธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๑ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 405

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้กล่าวถึงนามขันธ์ทั้ง ๔ โดยเฉพาะวิญญาณขันธ์ที่เกี่ยวข้องกับความรู้แจ้ง และการรวมกันของธรรมชาติที่มีบทบาทแตกต่างกัน เมื่อวิญญาณขันธ์ประสบกับขันธ์นอกนั้นจะกลายเป็นสิ่งที่เข้าใจง่ายขึ้น การศึกษาในเรื่องดังกล่าวช่วยในการทำความเข้าใจถึงหลักธรรมในพุทธศาสนาได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-นามขันธ์
-วิญญาณขันธ์
-ธรรมชาติ
-การรู้แจ้ง
-พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิญญาณธรรมแปล ภาค ๓ ตอน ๑ - หน้ที่ 45 [นามขันธ์ ๔] ส่วนในนามขันธ์นี้ เวทนาขันธ์.พึ่งทราบว่า (เรียกอย่างนั้น) เพราะรวมธรรมชาติที่มีการสวย (รสอารมณ์) เป็นลักษณะ สั้นทุก อย่างเข้า ด้วยกัน สัญญาขันธ์...เพราะรวมธรรมชาติที่มีความจำได้ เป็นลักษณะ สินทางทุกอย่างเข้า ด้วยกัน สังขารขันธ์...เพราะรวมธรรม ชาติมีการประสม (เจตสิก) เป็นลักษณะ สินทางทุกอย่างเข้า ด้วยกัน วิญญาณขันธ์...เพราะรวมธรรมชาติที่มีความรู้แจ้ง (รู้สึกทางทวาร ๖) เป็นลักษณะ สินทางทุกอย่างเข้า ด้วยกัน ในขันธ์ทั้ง ๔ นั้น เพราะเหตุที่เมื่อวิญญาณขันอันบุคละแม่ใจ แล้ว ขันธ์นอกก็จะกลายเป็นสิ่งที่พึงเข้าใจง่ายขึ้น เพราะเหตุนี้ บำเจ้าจึงจัดว่าธรรมฐานจับวิญญาณขันธ์เป็นต้นไป [วิญญาณขันธ์] ก็กล่าวว่า "วิญญาณขันธ์" พึงทราบว่า (เรียกอย่างนั้น) เพราะ รวมธรรมชาติที่มีความรู้แจ้งเป็นลักษณะ สินทางอย่างเข้า ด้วยกัน" ดังนี้ บำเจ้ากล่าวไว้แล้ว ถามว่า "ธรรมชาตินั้นมีความรู้แจ้งเป็น ลักษณะชื่อวิญญาณเป็นไในน" ตอบว่า ธรรมชาตินั้นมีความรู้แจ้ง เป็นลักษณะ ชื่อว่าวิญญาณ ดั่งพระสารัตถะเกาะกล่าว (แก่พระ- มหาโกฏิภิ)를 ว่า "คุรุอาวุโส เพราะเหตุธรรมชาตินั้นย่อมรู้แจ้ง ออมร่าง ๆ เพราะเหตุนี้ จึงเรียกว่า วิญญาณ" ดังนี้ คำว่า วิญญาณ จิต มิโน โดยเนื้อความอธิบดีร่วม วิญญาณนี้นั้น แม้เป็นอย่าง ๑. ในวิสุทธิธรรมนี้ อภิสรุณา ท่านแก้ไปทางรวมรมธรรม ไม่ใช่ปรุงแต่ง จะเห็นได้ตอน วิจัยฉันธบัตรด้านหน้า ๒. ปฏิสนธิในบทวิสุทธิธรรมเป็น กิญจู เข้าใจว่าคลาดเคลื่อน ที่ถูกเป็น กิญจ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More