ปัจจัยและอวิชชาในธรรม วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 252
หน้าที่ 252 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดธรรม หลายเกิดจากวิชชาและอวิชชา รวมถึงความหมายของคำที่สำคัญในบทเรียนนี้ เช่น คำว่า 'เธอ', 'ทุกขบุญสุด', และ 'สุขโย' ที่เป็นการชี้ให้เห็นถึงสภาพของทุกข์และสุข รวมถึงการวิเคราะห์โดยพิจารณาตามลักษณะของอวิชชาและลักษณะทางธรรม อธิบายให้เห็นถึงการเข้าใจในธรรมชาติและปัจจายในการดำรงอยู่ของสิ่งต่างๆ โดยอิงจากหลักการทางพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ปัจจัยที่เกิดขึ้น
-ความหมายของคำสำคัญ
-อวิชชาและลักษณะของธรรม
-การวิเคราะห์จากหลักพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปัจจัยนั้น ดังนี้ ในบททั้งปวงก็มีนี้ คำว่า “เธอ” เป็นคำชี้ขึ้นที่แสดงมาแล้ว ด้วยคำว่า “นั้น” แสดง ว่า ปัจจุบันธรรมหลายเกิดขึ้นเพราะปัจจัยธรรมมีวิชชาเป็นต้นนั้น เองเป็นเหตุ หาใช่เกิดขึ้นเพราะพระอิทธิบาทเป็นต้นไม้ คำว่า “เธอสุด- นั้น” คือดาวที่กล่าวมา คำว่า “เกลวกสุด” แปลว่าไม่สุข (มีสุข) เจือปน หรือว่าทั้งมวล คำว่า “ทุกขบุญสุด” แปลว่า กองทุกข์ คือ ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่ของสุขของงานเป็นต้น คำว่า “สุขโย” แปลว่า ความเกิดขึ้น คำว่า โทมัส แปลว่าช่วงอิ่ม วินิจฉัยโดยอรรถในบทสิบปฏิญาณนี้ บันฑิตพึงทราบดัง พรรณนามานี้ [วินิจฉัยโดยลักษณะเป็นต้น] คำว่า “ โดลักษณะเป็นต้น” คือโดลักษณะเป็นต้น แห่งมมี อวิชชาเป็นอาทิ ลักษณะเป็นต้นนี้อย่างไรบ้าง ? อวิชชา มีความไม่รู้เป็นลักษณะ มีการทำให้ลงเป็นรส มีการ ปกปิด (เสี่ยงซึ่งสภาวะ) เป็นปัจจุปฐาน มีอาสะเป็นปฏิทาน ส่งสาร มีการปรุงแต่งเป็นลักษณะ มีความพยายาม (เพื่ออ่ ปฏิสนธิ) เป็นรส มีดานาเป็นปัจจุปฐาน มีอวิชชาเป็นปฏิทาน วินิชญาณ มีความรู้พิเศษเป็นลักษณะ มีความเป็นหัวหน้า (แห่ง นามรูป) เป็นรส มีปฏิสนธิเป็นปัจจุปฐาน มีสังวารเป็นปฏิทาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More