วิถีธรรมกรเปล่า ตอนที่ 1 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 363
หน้าที่ 363 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมในชีวิต โดยเฉพาะความหมายของทิฏฐุปปทานและสีลพทุปปทาน และแนวทางการเห็นความบริสุทธิ์รวมถึงการเกิดขึ้นและการละซึ่งทุกข์และอุปทานในธรรมชาติ ชี้ให้เห็นบทบาทของธรรมและวาทกรรมในชีวิตของสัตบุรุษตามที่ได้รับการสอนไว้ ผู้ปฏิบัติย่อมได้เห็นธรรมอย่างชัดเจน.

หัวข้อประเด็น

-ทิฏฐุปปทาน
-สีลพทุปปทาน
-ธรรมแห่งอุปาทาน
-การปฏิบัติธรรม
-ความบริสุทธิ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกอบ - วิถีธรรมกรเปล่า ตอนที่ 1 หน้า 362 การ (ให้เป็นธรรม) บุษา ไม่มี (ผลวิบาก) ฯลฯ สมพรหมดทั้งหลาย ผู้ดำเนินชอบปฏิบัติธรรม ผู้ซึ่งทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกอื่น ด้วย อธิษฐานของแล้ว (ประกาศ) ให้รู้ทั่วกัน ไม่มีในโลก ดังนี้ฉะนั้น อันนี้เรียกว่า ทิฏฐุปปทาน" ส่วนความยึดมั่นว่า "ความบริสุทธิ์ยิ้มได้ด้วยศีลและพรทั้งหลาย เป็นสีลพทุปปทาน ดังว่าสู่ว่า "ในอุปทานเหล่านั้น สีลพทุปปทาน เป็นอย่างไร ? ความเห็น ฯ ฯ ความถือตามลาภเช่นนี้ว่า "ความ บริสุทธิ์ยิ้มได้ด้วยศีล ความบริสุทธิ์ยิ้มได้ด้วยพร ความบริสุทธิ์ได้ด้วย ศิลและพร" ดังนี้ เรียกว่า สีลพทุปปทาน" สัทภาวิติวัตถุ 20 เป็นอัตตกวาทุปปทาน ดังว่าว่า "ใน อุปปทานเหล่านั้น คิดความปทุมานเป็นอย่างไร? ปฏฺฐานผู้ได้ดับ ในโลกนี้ ฯ ฯ มีได้รับแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ ย่อมเห็นรูปโดย ความเป็นตน ฯ ฯ ความเห็น ฯ ฯ ความถือตามลาภเช่นนี้น่าใด อันนี้เรียกว่า อัตตกวาทุปปทาน" นี้เป็นความสังเขปและความผิดจากแห่งธรรมในอุปาทานนั้น [โดยลำดับ] ส่วนในข้อว่า "โดยลำดับ" นั้น มีพรฉนาว่า ลำดับมี 3 อย่าง คือ ลำดับความเกิดขึ้น 1 ลำดับการละ 1 ลำดับการแสดง 1 ในลำดับ 3 อย่างนั้น เพราะไม่มีว่า "ความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More