ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- วิชาชีววิทยา เล่ม 3 คาบ ตอน 1 - หน้าที่ 212
ความว่างในจิตใจ 4 นั้น พึงทราบดังนี้ คือ สังจะ
สองข้างต้น ว่างจากความยั่นยืน ความงาม ความ
สุข และความเป็นตัวตน องตามา (คืออีโรจ)
ว่างจากความเป็นตัวตน มรรควันว่างจากความ
ยืนยืน ความสุข และความเป็นตัวตน
หรือว่าสังจะ 3 ว่างจากนิรีโร และนิรีโรว่างจากสังจะ 3 ที่เหลือ
หรือว่าในสังจะ 4 นี้ สังจะที่เป็นเหตุจากสังจะที่จะเป็นผล เพราะ
ไม่มีทุกข์ในสมุทัย และไม่มีโรคในมรรค (เหตุ) การรวมภรรกับ
ผล ดังเช่นปกติ (หรือประดีกิจ) ของพวกได้ว่าที่ไม่* และผล
เล่ากว้างจากเหตุ เพราะทุกข์กับสมุทัยและนิรีโรกับมรรคร่วมกัน
ไม่ได้ (ผล) หาร่วมอยู่ในเหตุ เป็น "เหตุผล-ผลร่วมเหตุ" ดัง
เช่นทิวอุบผล (ผลเกิดแต่อนุ 2) เป็นนั้น ของพวกสมุทัยว่า
ไม่* เพราะเหตุนี้ นกปราชญ์จึงกล่าวคำประกัรนี้ไว้ว่า
1. ปฏิรูปไว้เป็น สุขทุกขา เข้าใจว่าคาถาเคลื่อน ที่ถูกูเป็น สุขทุกขา
2.-3. ภาพของนกปราชญ์อุปพระศาสนาต่าง ๆ นี้ ไม่วางมาบีดกล่าวไว้โดยละเอียด
ที่ไหน ก็ได้นอกจากหฤทุq ซึ่งนานก็กล่าวแต่เอียง ๆ อ่านเข้าไปงบ่างไม่ว่าจะนับนัก
ปราชญ์พวกปกติพูดกว่ว่า ปกติ (สงสกดท) เป็นสิ่งที่เป็นมูลเหตุเป็น
ตัวเหตุ เรียกประธานก็มี สิ่งทั้งหลายที่นับว่าเป็นผลงปกติ นี้ เมื่อยังไม่ได้ยกตัว
ออกมา ก็รวมอยู่กับปกติ คือเป็นตัวปกติʆนั้นเอง จึงว่า "ปกติร่วมรรรกับสิง
เหล่านั่น" แต่เหตุคือสมุทัยและมรรคร่วมรรรกับผลคือทุกข์และนิรีอโองั้นไม่
พวกสมวรงกันที่คล้ายกัน คือ กล่าวว่าร่วมดิออยู่ในเหตุได้ คล้ายกับว่าเป็น
อันเดียวกัน เช่นว่านิ้วมือว่าคดิออยู่ในสันดาน เสื้อร่วมดิออยู่ในผูกก ส่วนอุณนันนั้น
พวกนี้กล่าวว่าเป็นตัวเหตุที่โลกเป็นไป ผลของอันนั้นเรียกว่าอุบกรณ์ ถ้าคือเป็นเหตุ
มี 2 ผลก็เรียกว่าอุบกรณ์ ถ้าคือเป็นเหตุมีผลู 3 ผลก็เรียกว่าอุบกรณ์ 3 ผลก็เรียกว่าอุบกรณ์ 4 และจะถือว่าเป็นผลร่วมคออยู่ในสังจะเบ็นเหตุอย่างนั้นไม่