อวิชชาและการเกิดขึ้นแห่งทุกข์ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 381
หน้าที่ 381 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้พิจารณาถึงอวิชชาที่เป็นต้นเหตุแห่งความทุกข์ในชีวิต โดยเหตุผลจากพื้นฐานการเข้าถึงธรรมะและคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ว่าด้วยการเกิดขึ้นของวิทวาสที่เกิดจากอาสวะ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความพอใจในกามและความทุกข์ที่ตามมา เช่น ในกรณีที่คนถูกพรากจากวัตถุที่ตนยึดถือ จนนำไปสู่ความโศกเศร้า ธรรมนี้ยังสื่อถึงความเป็นจริงของชีวิตที่ต้องเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และการฝึกฝนเข้าใจธรรมนั้นนำไปสู่การปล่อยวางเพื่อความสุขที่แท้จริง.

หัวข้อประเด็น

- อวิชชา
- ความทุกข์
- ธรรมะ
- ความสัมพันธ์ของกามและสุข
- การมีสติ
- คำสอนของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิชาธรรมะภาค ๓ ตอนที่ ๑ หน้า ๓๙๐ [อวิชชามีเพราะโลกเป็นต้นได้] คำวิสัชนา ก็พึงว่า "กีโนปฏิสมุททธรรมทั้งหลายนี้ โลก ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ย่อมมีแก่บุคคลผู้อยู่ ไม่รากจาก อวิชชา อันปราเทวนะเล่า ก็ย่อมมีแก่บุคคลผู้อยู่เหลา เพราะเหตุนี้ ประกอบแรก เมื่อธรรมมีโลก เป็นต้นเหล่านั้นเป็นไปแล้ววิทวาสก็เป็นอนมัยอญ อีกปรการหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า "ความเกิดขึ้นแห่งวิทวาสอ่อนมีเพราะความเกิดขึ้นแห่งอาสวะ" ดังนี้ ก็ธรรมทั้งหลายมากมีโลกเป็นต้นนั้นก็ย่อมมีเพราะความเกิดนั้นแห่งอาสวะ ข้อนี้มีอย่างไร ? อันดับแรกในกรณีที่พัดพรากจากวัตถุก็ย่อมเป็นเกิดขึ้นเพราะกามาวาส ดังพระบาลีว่า ตสส ฯ กา ญาณสมุท ฯ ขป ฯ สูจะวิภวา รูปตี หากว่า เมื่อคนผู้เป็นเกิดความพอใจใคร่กาม เหล่าใดอยู่ กามเหล่านั้นมาพราไปเสียไซร้ เขาย่อมโศกทุกข์อทุกข์ทุกข์เสีย"- และดังพระบาลีว่า "Gas โด คายต โสโก - ความโศกอ่อนเกิดแต่ต่ำๆง" ดังนี้ ธรรมทั้งหลายมีโลกเป็นต้นทั้งปวงนั้น ย่อมเป็นธรรมเกิดขึ้น เพราะกุศลสละด้วย ดังว่า "ตสส อุ ผล ฯะ ปน =====---โกม-นูสุขา" โลกนี้ปราศจากทุกข์นัสละอุปายาส ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลนั้น ผู้บูรณ (ด้วยกิริยา) ว่า "เราเป็นรูป รูปเป็นของเรา เพราะความที่รูปแปรปรวนและเปลี่ยนแปลงไป" ดังนี้เป็นดัง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More