ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิภัชธรรมะแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ที่ 71
สภาวธรรมนี้จึงชื่อว่า ผัสสะ (ผู้ถูกต้อง) ผัสสะนี้นั้น มีการถูกต้อง เอาเป็นลักษณะ มีการทำให้กระทบเป็นรส มีความร่วมกันเข้า (แห่งจิตดามม) เป็นปัจจุปปะฐาน มีอารมณ์ที่นั่งคล่อง (แห่งจิต ?) เป็นปัจจุปปะฐาน จริงอยู่ ผัสสะนี้แม้เป็นรูปธรรม ก็ย่อมเป็นไปในอารมณ์ ด้วยอาการ (ดู) ถูกต้องเอา (จึงว่ามีการถูกต้องเอาเป็นลักษณะ) หนึ่ง ผัสสะนั้น แม้ผิดอยู่ (ที่ไหน) ลักษณะ ก็ยังจิต และอารมณ์ให้กระทบกันได้ ดังรุปประทับจักษุและเสียงกระทบหูนั้น (ซึ่งว่า มีการทำให้กระทบกันเป็นรส) ชื่อว่ามีความร่วมกันเข้าเป็นปัจจุปปะฐาน เพราะปรากฏด้วยอำนาจของอุปตน กล่าวคือถือสันนิษบัติ (ความร่วมกันเข้าแห่งธรรม ๓ คืออายตนะภายใน - อายตนะภายนอก และวิญญาณ) ชื่อนี้อารมณ์นี้จึงคล่องเป็นปัจจุปปะฐาน เพราะเกิดขึ้นในอารมณที่สิ้นนาทาร (การประมวลความคิด) อันควรแก่ผัสสะนั้น และอินทรีย์ด้วย (ช่วยกัน) แต่ว่าให้ โดยไม่อันตรายทีเดียว แต่ว่าโดยความเป็นที่ตั้งแห่งเวทนา ผัสสะนี้ นับถือพึงเห็นเป็นดังแม่โขล่งปกเกิด
[๒ เขตนา]
ธรรมชาติใดย่อมคิด อธิบายว่าอ่อนพัวพัน (อารมณ์) เหตุนี้
* วิเคราะห์นี้เป็นคำตัดสนะ มาหาวิความเป็นกุศลสนะได้ กล่าวเครื่องถูกต้อง อธิบายว่า สัมปุรตธรรมทั้งหลายเมื่เป็นไปในอารมณ ย่อมเป็นดัง อุต้องเอาอารมณ์นั้นด้วยผัสสะซึ่งมีการถูกต้องเป็นลักษณะ หรือจะแน่น เป็นกาสถานะก็ได้ แจ้งว่าความถูกต้อง ท่านว่า การกล่าวความเป็นคำตัดสนะและกุศลสนะในสภาวธรรมทั้งหลาย เป็นการกล่าวโดยอ้อม กล่าวเป็นกวาสะนั่นแหละ เป็นการกล่าวโดยตรง เพราะฉะนั้น ผู้นูลูกโณฯ ผัสสะมีการถูกต้องเป็นลักษณะ