ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิถีธรรมธรรมนำเปล่า ๑ หน้าที่ 200
เพราะเป็นธรรมที่ต้องเห็นด้วยอธิษฐาน เพราะเหตุนี้ พระนิมพาน
นี้นั้น จึงเป็นธรรมชาติไม่ทั่วไป เพราะเป็นธรรมอันบุคคลพึง
พร้อมด้วยมรรค (เท่านั้น) จงถึงได้ เป็นธรรมชาติไม่มีแดนเกิด
เพราะไม่มีอิงต้นอิงปลาย
หากมีคำอ้างว่า "พระนิมพาน มีไชยะธรรมชาติไม่มีแดนเกิด
เพราะเมื่อมีมรรคจึงมีได้" ดังนี้ไซร้ คำแก้พึงว่า "หมดได้ เพราะ
พระนิมพานมิใช่ธรรมชาติที่บรรจงจะพึงให้เกิดขึ้นได้ แท้จริง พระ
นิมพานนั้น เป็นธรรมชาติบุคคลพึงถึงด้วยมรรคเท่านั้น มีมรรค
จะพึงให้เกิดขึ้นได้ เพราะฉนั้น นั่น พระนิมพานจึงชื่อว่าไม่มีแดนเกิดแท้
เพราะไม่มีแดนเกิด จิ่งไม่มีธรรมะนะ เพราะไม่มีแดนเกิดและสรา
มรรคะ จึงเที่ยง"
หากมีคำเสาะอ้างว่า "แม้อื่นเป็นต้นก็ถึงซึ่งอารมณ์เที่ยง ดัง
อะไรเป็นต้น"
๑. ที่วาเป็นเหตุจานซึ่งความเป็นผู้ขอุ่นขอแน่นน้อยนั้น ท่านเล็งถึงพระรามิง เมื่ออิสระ
แล้วใหม่ ๆ ว่า ธรรมที่ได้ครองรัฐนี้ สุขุมลุ่มลึก ยากที่คนมิคสละจะเห็นได้ จึงไม่
ทรงบวชอายที่ทรงแสดงธรรมในตอนแรก ๆ ส่วนข้อที่จะต้องเห็นด้วยอธิษฐานนั้น
เลิ้งถึงพระบาทในมกุฏฐายุตร มหาชูมินิยา มหาชูปนุาสก ที่ตรัสแก่มากันดุษฎีย
พระมห่า เขายังไม่ยอธิษฐานว่าจะเห็นพระนิมพานได้
๒. อธิษฐานสัทธ์ สังข์ เข้ารว่าเป็นเหตุ
๓. อธูอาณิ มหาวิกา ไปออก ไปเป็น ฉ คือ อนุ ปกติ กาล ปุรี แล้วก็ลงอามไว้
ด้วย สอว่ายมิจะอะไรต่อไป ก็ส่งเหล่าลักษณะอีกอธิว่า เที่ยงเท่าไม่แตกดับ และ
เป็นตัวอำบาบบันดาลโลกให้เกิดขึ้นและเป็นไปอยู่เสมอ อนุ พจนภิษานั้น ๆ ว่า อนุนี้
โลโก ปวดติ - โลกย่อมเป็นไปด้วยอธิษฐานทหลาย ปกติ ส่งอากิฏฑ์เป็นประกดิ หมายถึง
สิ่งที่เป็นมูลเดิมของสิ่งต่าง ๆ ปริสสะ เป็นชื่อองค์แห่งดามัน ส่วนกาล [น่าจะตรง
กับที่เราเรียกพระกาล] เป็นผู้สร้างและผู้ทำลายสั่วยด้วย