วิถีธรรมกรรมเปล่าภาค ๓ ตอนที่ 308 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 309
หน้าที่ 309 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์เกี่ยวกับปฏิปณิจิตและอารมณ์ที่เกิดขึ้นในจิต ภายในหลักธรรมของวิญญาณ ๒๕ ดวง โดยอธิบายถึงกรรมที่เป็นปัจจัยและประเภทต่าง ๆ ของกรรมที่ส่งผลต่อการเป็นไปในปฏิสนธิ และการเกิดขึ้นของทุกข์ในจิต รวมถึงความสำคัญของอุปนิสัยปัจจัยในการพัฒนาวิญญาณในทัศนธรรมต่าง ๆ สรุปได้ว่าทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติและอำนาจในการเกิดของจิตเป็นสิ่งที่สำคัญ.

หัวข้อประเด็น

-ปฏิปณิจิต
-กรรมปัจจัย
-วิญญาณและอารมณ์
-กุศลกรรมและอกุศลกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมกรรมเปล่าภาค ๓ ตอนที่ 308 ทำไว้ นั่นบ้างกรรมมินิมบ้าง คติมินิมบ้าง มาสู่ลอในนโมทวา หรือมีจะนั่น อามรมที่เป็นเหตุเกิดอคุลมาสู่ลอในนโมทวา โดย นั่นที่กล่าวแล้วนั้นแหละ ต่อม ในที่สุดแห่งจิตตามลำดับ ปฏิปณิ จิตมีอารมณ์เหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ ตกไปทางทุกข์เกิด ขึ้นแก่เขา นี้เป็นอาการเป็นไปแห่งปฏิปณิอันเป็นอัตตามธรรม ปัจจุ- ปิ่นนาม (เกิด) ในลำดับแห่งทุกข์จิต ซึ่งเป็นอัตตามธรรมและ ความเป็นไปด้วยอำนาจาในแห่งภูมิติแห่งวิญญาณทั้ง ๑๕ ดวง เป็นอันแสดงให้เห็นเพียงเท่านี้ วิญญาณทั้งสิ้นนี้นั้น [คาถาสงเคราะห์ปฏิปณิวิญญาณ] เมื่อเป็นไปใน [ปฐ] สนธิกล่าวมานั้น ย่อม เป็นไปด้วยกรรม ๒ แผน และมีประเภทต่าง ๆ เช่นประเภท ๒ เป็นต้น โดยประเภททั้งหลาย มี ประเภทผสมเป็นอาทิตย์ [นายความ] แท้จริง วิญญาณทั้ง ๒๕ ดวงนี้ เมื่อเป็นไปในปฏิสนธิ ย่อมเป็นไปด้วยกรรม ๒ แผนด้วยกัน โดยว่า ชนกรรมย่อมเป็น ปัจจัย โดยเป็นกรรมปัจจัยอันเป็นไปในทัศน่าร่าง ๆ กัน ๑ โดยเป็น อุปนิสัยปัจจัย แห่งวิญญาณนั้นตามที่เป็นของตน สมคำ กล่าวว่า "กุศโลกรรมและอกุศลกรรมเป็นปัจจัยโดยเป็นอุปนิสัยปัจจัย"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More