วิทยาธรรมภาค ๓ ตอนที่ 254 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 255
หน้าที่ 255 / 405

สรุปเนื้อหา

บทเรียนนี้เกี่ยวกับการสำรวจประเภทต่างๆ ของวิญญาณและนามรูป โดยแสดงให้เห็นถึงการอธิบายที่หลากหลายเกี่ยวกับกำเนิด สัตว์และพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับวิญญาณและกรรม โดยใช้หมวดหมู่และลักษณะเฉพาะในแต่ละประเภท ซึ่งทำให้เข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างองค์ความรู้ทางวิทยาธรรมกับการดำรงอยู่ในเชิงปรัชญา ข้อมูลแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของหมวดหมู่นี้และความสำคัญในการส่งเสริมการเข้าใจในธรรมชาติของชีวิตและการเกิด.

หัวข้อประเด็น

-วิญญาณ
-นามรูป
-ปริตะ
-การกำเนิด
-พฤติกรรมทางวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยาธรรมภาค ๓ ตอนที่ 254 อุคุส องง มี ๒ โดยเป็นปริตะ มหาคตะ เป็นหนึ่ง มัชฌิมะ เป็นมังฉัตตะ สมมตนะ เป็นนิยตะ อนันตะ มี ๓ อย่าง โดยความเป็น อภิสงฆะ มีภูติญาณสงสารเป็นต้น มี ๑ อย่าง โดยให้เป็นไปใน กำเนิด ๔ มี ๕ อย่าง โดยยังสัตว์ให้ไปสู่สุด ๕ วิญญาณ มีอย่างเดียว โดยเป็นโลภิวิมากเป็นต้น มี ๒ อย่าง โดยเป็นสหกุจจะและอทกุจจะเป็นต้น มี ๓ อย่างโดยบังเนื่องในภาพ ๓ โดยสัมปโยคกับวรรณะ ๓ และโดยเป็นอเหตุุจะ ทุเหตุุจะ และติเหตุุจะ มี ๔ อย่าง และ ๕ อย่าง โดยกำเนิด (๔) และ คดี (๕) นามรูป มีอย่างเดียว โดยเป็นวิญญาณสัมมัสสะ (ที่อาศัยแห่ง วิญญาณ) และโดยเป็นกัมมปัจจัย (ปัจจัยของกรรม) มี ๒ อย่าง โดยเป็นสารัมมาณะ (มีอารมณ์ = นาม) และอารัมมาณะ (ไม่อารมณ์ = รูป) มี ๓ อย่าง โดยกลีติคติเป็นต้น มี ๔ และ ๕ อย่าง โดย กำเนิดและคดี สหายตนะ มีอย่างเดียว โดยเป็นที่เกิด และโดยเป็นที่ประชุม (แห่งวิญญาณและธรรมที่สัมปุทกับวิญญาณนั้น) มี ๒ อย่าง โดยเป็น ภูมปสาท (ส่วนที่อยู่ในแง่ภูมุรูป) และเป็นเครื่องรู้เหตุ มี ๓ อย่าง โดยเป็นสัมปัตโฉร (รับได้แต่ถอรมที่มาถึงตัว) อัมมัปัตโฉร (รับอารมณ์ที่ไม่มาถึงตัวได้) และโภคาวโฉร (รับอารมณ์ไม่ใช่)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More