ปฏิจจสมุปบาทในวิชาธรรมาภิบาล ๓ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 227
หน้าที่ 227 / 405

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้เน้นถึงการวิเคราะห์คำว่า 'ปฏิจจสมุปบาท' ซึ่งเป็นที่ถกเถียงในทางความหมายและการอ้างอิงในพระสูตรว่าทำไมคำนี้ถึงไม่สอดคล้อง โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเหตุผลทางเทววิทยาและการปรากฏการณ์ของกรรมในบริบทนี้ ทั้งยังกล่าวถึงการทรงสมาธิในผลของปฏิจจสมุปบาทตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสรู้ การที่ปรากฏการณ์ทางธรรมซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาแนวคิดนี้มีความลึกซึ้งและมีที่มาจากการพิจารณาที่ถูกต้องในกฎหมายปฏิจจสมุปบาท

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
-ความสำคัญของพระสูตร
-การศึกษาวิชาธรรมาภิบาล
-ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและอาการแห่งปัจจัยธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิชาธรรมาภิบาล ๓ ตอนที่ ๑ หน้า ที่ 226 ซึ่งเดิมทีเขากำหนดฉันชื่อว่า "ปฏิจจสมุปบาท" คำของเจ้าลัทธินั้นไม่ชอบเพราะอะไร? เพราะไม่มีพระสูตร (ฮ้าง) เพราะผิดต่อพระสูตร เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย และเพราะเป็นสังขตา (ศัพท์แตก) ด้วย [ไม่มีพระสูตรอ้างและผิดต่อพระสูตร] จริงอยู่ พระสูตรว่า "กรียาเพียงแค่ความเกิดขึ้น (ไม่มีเหตุ)" ชื่อว่า "ปฏิจจสมุปบาท" ดังนี้หามิใช่ และความผิดต่อเทววิทยาสูตร (พระสูตรที่กล่าวถึงเทววิทยาธรรม) ก็ต้อง (มี) แก่ผู้ที่กล่าวว่า "กรียาเพียงแต่ความเกิดขึ้นนั้นชื่อว่า ปฏิจจสมุปบาท" ด้วย ถามว่า (ผิด) อย่างไร? แก้ว่ากิริยาสิการปฏิจจสมุปบาทเป็นปฏิจจสมุปบาท วิภธรรม เมื่อแรกตรัสรู้ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า โดยบอกว่า "ครั้งนั้นแลพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงสมาธิปฏิจจสมุปบาท ทั้งองค์โฉมและปฏิโลม ดลอดอุปจารยาแห่งกรรม" ดังนี้เป็นอาติ องค์ วิภธรรมเป็นส่วนหนึ่งแห่งปฏิจจสมุปบาทนั้น ชื่อ ปฏิสวหารธรรม ดังที่ตรัสว่า "ฤๅกิฏิญญหัสหลาย เรานั้นแรกตรัสรู้ พักผ่อนอยู่ด้วยวิภธรรมใด เราพักผ่อนอยู่แล้วด้วยปฏิส (ส่วนหนึ่ง) แห่งวิภธรรมมัน" ก็โดยทรง (พิจารณา) ดูปัจจากา (อาการแห่งปัจจัยธรรม) หาใช่ทรง (พิจารณา)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More