การศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าและปฏิสัมพันธ์ในคัมภีร์ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงความฉลาดในคัมภีร์และสิลปะที่เกี่ยวข้องกับคำสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งยังเชื่อมโยงกับการวิเคราะห์ความหมายและความสำคัญของบทเรียนที่ได้รับจากการศึกษาคัมภีร์และปัญญาเหล่านั้น การเรียนรู้จากอาจารย์และการมีมิตรภาพที่ดีก็เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการศึกษา

หัวข้อประเด็น

-บทบาทของพระพุทธเจ้า
-คำสอนในคัมภีร์
-การเรียนรู้和ความฉลาดในยาง
-ความสำคัญของมิตรภาพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยาธิษฏรรปล าภค ๑ ใน ตอน ๑ หน้าที่ ๑๗ ของพระพุทธเจ้าองค์นู ๆ ชื่อว่านุโพคะ อาจารย์อืนอีกพวกหนึ่งกล่าวว่า ปุโจยะ (เครื่องอุดหนุน) ของปฏิสังมิภาค (มีส ึ) คือ นุบโยคะ ๑ พาหสัจจะ ๑ เทศกา ๑ อามา ๑ ปริปูชณา ๑ อภิชฌา ๑ ครุษันนิสัย มิตรมสมบัติ ๑ ในปัจจัยเหล่านั้น นุโพคะก็มิได้ดังกล่าวแล้วนั้น แน่ ความ ฉลาดในคัมภีร์และสิปลาปทนะ (กระบวนศิลปะ ?) ทั้งหลายนัน ๆ ชื่อว่า พาหสัจจะ ความฉลาดในโวหาร (ถ้อยคำ) ร้อยเอก (ทองถิ่น) ชื่อ เทศกายา แต่ (ว่า) โดยพิเศษความฉลาดในโวหารของชาวมค (นัน) แหละ) ชื่อเทศกายา การเล่าเรียนพระพุทธองค์ โดยที่สุดแม้เพียง โอวาทบรรดา (สังกรดา) ชื่ออกคม การได้ตามถึงคำวินิจฉัยนี้ ความแห่งความแม้นาดหนึ่ง ชื่อว่า ปริจฉนา ความเป็นพระโลดาวันดีกิ ความเป็นพระสภาคามีดีกิ ความเป็นพระอรหันต์ดีกิ ชื่อว่าอธิภาฯกิ การอยู่ในสำนักของครูทั้งหลายผู้มีสุดปฏิภาน มากชื่อว่าขันนิสัย ความได้มิตรทั้งหลายเห็นปานนั้นนั้นแน ชื่อว่า มิตรมสมบัติ ด้วยประการณะนี้ ในปัจจัยเหล่านี้ พระพุทธเจ้าและพระปิ๋วเจกพุทธทั้งหลาย อาศัย บุโจยะและอธิภาเท่านั้นทรงบรรลุสัมโพธิ พระสาวกทั้งหลายอาศัย 1. หมายเอาเฉพาะคัมภีร์และสิปลปะที่ทำให้มึได้ 2. มหาฤกษ์ว่า ภายท้องเนื้อผงญา (เจ้แผ่นดิน) ร้อยเอกในบรรพก เรียกว่า เอากล- โวหาร (คำว่า 'พญาร้อยเอก' นี้ ไทยเราก็พูดกัน แต่คู่เหมือนความหมายว่างามเท่านั้น ในชมพู ทวีป พญาอาจถึงร้อยเอกจริง ๆ แต่ไทยเรามิได้งั้น ๆ) 3. หมายถึงโอวาทบรรดา ในมัชฌิมนิกาย มูลปิฎกนาสก์ กระมัง ? 4. สุปฏิฐานพลานี มาหาฤกษ์ว่าเป็นพุทธู มีปฏิฐานด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More