ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิชาธรรมอธิบาย ตอน ๑ หน้า 268
อนันตปัจจัย ธรรมผู้อุดหนุน โดยความเป็นธรรมใกล้ที่สุดชื่อ
สมันตปัจจัย ก็เลยอาจรย์ทั้งหลายอธิบายปัจจัยคู่นี้ไว้มากประการ
แต่ความ (ต่อไป) นี้ เป็นเหตุในปัจจูนี้
ก็ติดต่อยาม (ทางของจิต) เป็นดังว่า "มนิษฐฤติในลำดับแห่ง
จักวิญญาณ มนิษฐฤติในลำดับแห่งมนิษฐฤติ" ดังนี้นี้ใด
จิตนิยมมั่น ย่อมสำเร็จอำนาจแห่งจิตดวงก่อน ๆ นั่นนั้น หา
สำเร็จโดยประการอื่นไม่ เหตุใด เพราะเหตุนั้น ธรรมผู้สมอกร
ในนัยยังอธูาปที่คู่ารำให้เกิดขึ้นในลำดับแห่ง ๆ ชื่อว่า
อนันตปัจจัย เพราะนั่นแลท่านจึงกล่าวว่า "ว่า อนันตปัจจัย
ความว่า จักวิญญาณธรฑู และธรรมทั้งหลายที่สัมปฏูฏกับจักวิญญาณ-
ธตุ นั้น เป็นปัจจัยโดยเป็นอนันตปัจจัยแห่งมนสา และแห่งธรรม
ทั้งหลายอันสัมปฏูฏกันในนาฏูนัน" ดังนี้เป็นต้น อนันตปัจจัย
อันใด สมันตปัจจัยอันนั้นแหละ แท้จริง ความต่างกันในปัจจัย
คู่นี้ เป็นเพียงพยัญชนะเท่านั้น จุดความต่างเพียงพยัญชนะในศัพท์
อุปายะ (เติบขึ้น) กับสันติติ (สีตอ) และในศัพท์ที่กู้อือ อิรวาณะ
(คำเรียก) กับ นิรตติ (คำกล่าว) จะนั่น แต่ว่าความต่างโดยอรฤากมีไม
ส่วนมีติมของอาจารย์กล่าวว่ามีว่า "ธรรมชื่อว่า อนันตปัจจัย
เพราะความเป็นธรรมไม่มีระหวังโดยอรรรถ (คือไม่มีความอื่นกัน ?)
๑. มหาวิฤกษว่า ด้วยคำว่า เป็นดังว่า แสดงถึงจิตนิยมทุกอย่างที่เกิดในลำดับกัน เช่น
ว่า โภฏิพพพนจะเกิดในลำดับนี้ ตรีณะ ปฏิสนธิในลำดับคู่ติ . . .
๒. อภ. ป. ๔๐/๓