วิถีธรรมกรมเปล่า ภาค ๓ ตอนที่ ๑๗๗ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 178
หน้าที่ 178 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความเป็นไปของทุกข์และสุขในชีวิต ซึ่งถูกอธิบายว่า ทุกข์มาจากการกระทำของตัวเองและคนอื่น ๆ กล่าวถึงอำนาจของความโกรธที่สามารถทำให้เกิดทุกข์ รวมถึงการเน้นถึงหลักธรรมสำคัญที่นักปราชญ์ได้กล่าวไว้ โดยชี้ให้เห็นว่าความสุขและทุกข์มีความสัมพันธ์กับการกระทำที่เราทำ ทั้งนี้เพื่อตระหนักถึงการใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย และลดทุกข์ที่เกิดจากการกระทำของตนเองและผู้อื่น.

หัวข้อประเด็น

-ทุกข์และสุข
-การกระทำของตนเอง
-การกระทำของผู้อื่น
-ความโกรธและผลกระทบ
-หลักธรรมของนักปราชญ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมกรมเปล่า ภาค ๓ ตอนที่ ๑๗๗ 【อัตตปกรณ์มูลลูกกูบ】 (ประการหนึ่ง) ในความเป็นไปตลอดแต่ตั้งแต่ไป ทุกข์อันใดเกิดมีแก่ สัตว์นั่นผู้ทำร้ายตนเอง ก็คิด ผู้ประกอบตามปริมาณนามโอโค (ประ กอบการมาถัวตัวอย่างกีล) ตามทำนองวัตรของดีธัมโมเเจอแลก- วัตร (วัตรของซีเปลอ) เป็นต้นกีด ผู้ไม่นิ (อาหาร) และ แวนคอตาย ด้วยอำนาจความโกรธกีด ทุกข์นี้เป็นอุตตปกมูล- ทุกข์ (ทุกข์มีการทำตัวเองเป็นมูล) [ปรุงปกมูลทุกข์] ประกาศหนึ่ง ทุกข์อันใดเกิดขึ้นแก่สัตว์นั่นผู้ได้รับการกระทำมี มาและอ้างจำเป็นตนแต่คนอื่น ทุกข์นี้เป็นปรุงปกมูลทุกข์ (ทุกข์- มีการทำตนอื่นทำเอาเป็นมูล) และ [สุขขาดทุกข์] ชาตินี้เป็นพื้น (ที่ตั้ง) แต่สักว่างนี้แหงทุกข์ทั้งปวงนี้ ก็กล่าวมา เพราะ เหตุนี้น นักปราชญ์จึงกล่าวคำประพันธ์นี้ว่า นายเอก โน เจ นรากู สตูโต ฯปฯ ทุกข์นี้ สพุทบรม อิมา ชาติ หากว่ามีสัตว์ไม่พึงเกิดในนรกทั้งหลาย ไชร เขาก็ ไม่พึงได้รับทุกข์เหล่านี้กอมีผลด้วยไฟเป็นต้น ใน ๑. วธนุตส สมหุภาแกว่า "เม็ดเขียนตัวเองด้วยการร้องให้คำรำรวญบูบอกร หัวเป็นต้น" (น่าจะหมายเลยไปถึงมตายตายด้วย ?)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More