วิถีทิศมรรคแปล ภาค ๓ ตอนที่ 127 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 128
หน้าที่ 128 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับคำว่า 'อายตนะ' ซึ่งหมายถึงสถานที่ที่จิตเจตสิกใช้ส่งต่ออารมณ์และธรรมต่างๆ โดยมีการนำเสนอความหมายที่หลากหลาย เช่น อายตนะในฐานะสถานที่อยู่ บ่อเกิด และถิ่นกำเนิด ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงของจิตกับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างลึกซึ้ง โปรดศึกษาว่าศัพท์เหล่านี้มีความสำคัญอย่างไรในบริบทของพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของอายตนะ
-อายตนะในพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของธรรมและจิตเจตสิก
-บทบาทของอายตนะในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีทิศมรรคแปล ภาค ๓ ตอนที่ 127 อยู่ นั้น เพียงนั้น (เพราะเหตุนี้ ทวาและอารมณ์ทั้งหลายนัน จึงชื่อ อายตนะ (แปลว่านำอายตนะ คือ สารทุกข้อน ยึดอยู่แล้วไป) ธรรมทั้งปวงนี้ ได้ชื่อว่า อายตนะ ฯ เพราะเป็นที่ส่งต่อ (แห่ง จิตเจตสิก) ฯ เพราะนำอายตนะ (คือ สารทุกข้อนยึดอยู่แล้ว) ไป ฯ โดยนัยดังกล่าวมานี้ [แก้ไขตนิศัพท์โดยโปรย] อีกหนึ่งนั่ง อายตนะ (ศัพท์พิมพ์ทราบโดยอรรถว่า เป็นสถานที่ อยู่ ฯ โดยอรรถว่าเป็นบ่อเกิด ฯ โดยอรรถว่าเป็นที่ชุมมุม ฯ โดย อรรถว่าเป็นถิ่น (หรือแหล่ง) กำเนิด ฯ โดยอรรถว่าเป็นเหตุ ฯ จริงอย่างนั้น สถานที่อยู่ เรียกว่า อายตนะ (ได้) ในคำว่า "อิสุ สารายตนะ - ศาลพระอิศวร วาสุทวายตนะ - ศาลพระวาสุทพ" เป็นต้น บ่อเกิด ก็เรียกอายตนะ (ได้) ในคำว่า "สุวณญาณตนะ- บ่อทอง รัตนยาตนะ - บ่อแก้ว (เพชรพลอย) ฯ เป็นต้น ส่วนในพระ สงฆ์ฯ (นี้) สถานเป็นที่ชุมมุม ก็เรียกอายตนะ (ได้) ในคำว่า "มโนรม อายตนะ เสวนิติ น วิญญกุณา -" ผู้วอนคณใว้อัญฉันเป็น ที่ชุมมุนที่น่ารื่นรมย์ในอ้อมเสน่ห์นี้ไม่น้อยนั้น" เป็นต้น ถิ่น (หรือ แหล่ง) กำเนิด ก็เรียกอายตนะ (ได้) ในคำว่า "ทุกขิญาโภ คุณ"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More