กรรมภาพและวิชชาในวิสุทธิมรรค วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 389
หน้าที่ 389 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการทำกรรมและความหลงในธรรม ซึ่งเป็นที่มาของวิชชาและผลกระทบต่างๆ ที่เกิดจากจิตอันเป็นสังขาร มีการอธิบายถึงเขตของความใคร่และกรรมที่เกิดขึ้นในชีวิต การเตรียมความพร้อมในการทำกรรมต่างๆ เช่น การให้ทาน การตั้งใจทำดี และปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลให้เกิดกรรมในอนาคตเพื่อความเข้าใจในธรรมชาติของจิตและสังขาร.

หัวข้อประเด็น

-กรรมภาพ
-วิชชา
-ความหลง
-สังขาร
-ความใคร่
-ธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิสุทธิมรรคแปลก คำ ตอน ๑ หน้า ۳۸۸ กรรมภาพที่ได้ทำมาในชาติที่ล่วงแล้ว คำว่า "ความหลงเป็นวิชชา" คำว่า ความหลงในธรรมเป็น ที่ตั้งแห่งความหลงทั้งหลายทั้งปวงเป็นต้นในตอนนั้นนั่นเอง บุคคลผู้หลง แล้วทำกรรมด้วยความหลงองค์ใด ความหลงนั้นเป็นวิชชา คำว่า เขตอันอันประมวลไว้เป็นสังขาร ได้แก่แนวดวงแรก ๆ ของบุคคลผู้ทำกรรมมนั้น ดังเช่นแนวดวงแรก ๆ ที่เกิดขึ้นแต่กายเกิดคู่ ยังจิตให้เกิดขึ้นว่าเริ่มจากให้ตนเองเตรียมเครื่องอุปกรณ์ในการทาน ทั้งหลายอยู่เดือนหนึ่งดี ปีหนึ่งดี ส่วนแนวตามของทายกันผู้วาง ทักษิณาลงในมือของปฏิทินหลาย เรียกว่าภพ นั้นหนึ่งแน่ ในชวน ๖ ที่เป็นจิตอันอันวัชชนะเดี่ยว ชื่อว่าเขตอันอันประมวลไว้ นับ เป็นสังขาร เขตนาในชวนที่ ๕ เป็นภาพ หรือลินั้นเขตนา ทุกดวงเป็นภาพ ธรรมทั้งหลายที่สัมปุท (กับเขตอันนั้น) ชื่อว่า เขตอันอันประมวลไว้ เป็นสังขาร คำว่า "ความใคร่เป็นต้นนา" คำว่า เมื่อบุคคลทำกรรมอยู่ ความใคร่คือความปรารถนาในอุปปัชฌา อันเป็นผลของกรรมมันอันได้ ความใคร่ฉนั้นชื่อว่าต้นนาน ๑. ปาฏะพิมพ์ไว้เป็น สา เข้าใจว่าคลาดเคลื่อน เพราะรับกับ ข้างหน้าซึ่ง โกโ เป็นปะ จึงแก้เป็น โส วิกิจิตตาต่างลิงค์กับปกติวิกิฏฏได้ เขตนา ภู, ข้างหลังจึงเป็นพยานอยู่ ข้างหลังเป็นพยานอยู่ ๒. ปาฏะพิมพ์ไว้เป็น สดฺตมา เขณะ ท่านผู้ระมาหฤกษาออกเจิรจรงรรวา ฉบับ พมาเป็น สดฺตมา เขณะ เห็นว่าประฉับบพมายก้าว่า เพราะเพง ฉฺ ชวนสู เขณะ ข้างหน้า ในนั้นอิ้งแปลตามที่เห็นว่าถูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More