วิภัชธิรรมครเปล ภาค 3 ตอนที่ 1 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 139
หน้าที่ 139 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญญาและลักษณะของชาติในพระบาล โดยนำเสนอหลักการของธฤฏุและการวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของทุกสิ่ง ที่สามารถแบ่งแยกหรือจำแนกได้อย่างชัดเจน โดยอ้างอิงถึงคำสอนที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ทำให้เห็นถึงความสำคัญของมิติทางจิตวิญญาณในการเข้าใจลักษณะที่เป็นนิรีพ.

หัวข้อประเด็น

-ปัญญาและธฤฏุ
-การวิเคราะห์ชาติ
-ลักษณะและปัญญา
-เข้าใจคำสอนในพระบาล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิภัชธิรรมครเปล ภาค 3 ตอนที่ 1 - หน้าที่ 138 กล่าวคือปัญญาของนี้ ฉันนั่น เพราะอาวะมีจุญเป็นตันนันกิำหนดลักษณะต่างกันและกันได้เลย อีกอย่างหนึ่ง คำว่า ชาติ นั้นเป็นคิรียกสภา ที่เป็นนิรีพ (ไม่มีชีพ) เท่านั้นเอง จริงอย่างนั้น พระผู้พระภาคเจ้าได้ตรงทำ ธฤฏุเทพบเพื่ออนชีวิสัญญา (ความสำคัญว่าว)ในพระบาลว่าว "ดูกรภิญญู บูรณนี้มีธฤฏุ ๘" ดังนี้เป็นอาทิและ เพราะเหตุนันแล โดยอธิบายตามที่ว่า (บัณฑิตีพึงทราบ) วิเคราะห์ว่า ก็ฉะนั้นเป็นธฤฏุแล้ว ข้อว่าโดยลักษณะเป็นต้น ว่าว่า วิฉัฏฉัยโดยลักษณะเป็นต้น แห่งธฤฏุจึงเป็นอาทิในนี้ บัณฑิตพึงทราบด้วย ก็แล้วว่า ลักษณะเป็นต้นนั้นแห่งธฤฏุทั้งหลายนัน พิจารณาโดยที่กล่าวแล้วใน ๑. ความท่อนนี้ ตอนต้นดูเหมือนหมายความว่า อวะวา คือชิ้นส่วนย่อย ๆ เรียกว่าชาติ ส่วนตอนหลังดูเหมือนหมายความว่า อวะวะซึ่งกำหนดลักษณะต่างกันได้ จึงเรียกว่า ธฤฏุ (?) ๒. ม.อ. ๑๔๕๔๖. ๓.หมายถึง ลักษณะ รส ปัญจปัญญา และไทญาญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More