วิทยาธรรมภาค ๓ ตอน ๑ - อธิโมกข์ และ มนสิการ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในวิทยาธรรมภาค ๓ ตอน ๑ พิจารณาแนวคิดเกี่ยวกับอธิโมกข์และมนสิการ เช่นการทำให้จิตใจว่างจากความฟุ้งซ่านและการเรียนรู้ที่จะจัดการอารมณ์ที่เกิดขึ้นในใจ โดยมีการอธิบายลักษณะและความสำคัญของมนสิการในการเป็นธรรมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตและจิตใจโดยเฉพาะในด้านการสัมผัสและการจัดการกับขันธ์ นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบระหว่างอธิโมกข์ที่เป็นฝ่ายเยาวปนและฝ่ายสทธาน เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างในอำนาจความคิดและการกระทำ

หัวข้อประเด็น

-อธิโมกข์
-มนสิการ
-การจัดการอารมณ์
-เจตสิกธรรม
-วิทยาธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยาธรรมภาค ๓ ตอน ๑ - หน้าที่ 82 อธิโมกข์ บันทึกพิจารณาว่าเป็นดังเสาเขือน เพราะความที่นิงอยู่ในอารมณ์ [๑ มนสิการ] ความทำ ชื่อว่าการ ความทำ (อารมณ์ไว้) ในใจ ชื่อมนสิการ นัยหนึ่ง เจตสิกธรรมโดยอ้อมทำให้ใจไม่มีเหมือนเดิม คือใจว่างคง เหตุนี้เจตสิกธรรมนี้จึงชื่อมนสิการ (แปลว่า เจตสิกธรรมอันทำใจให้ผิดเดิม) ดังนี้ก็ได้ มนสิการนี้มี ๑ ประการคืออรัญญปฏิปทกะ (มนสิการอันจัดแจงในอารมณ์) วิธีปฏิปทกะ (มนสิการอันจัดแจงในวิธีจิต) ชวนปฏิปทกะ (มนสิการอันจัดแจงในชวนจิต) ในมนสิการ ๓ นั้น อรัญญปฏิปทกะ ชื่อว่ามนสิการ เพราะทำ karmant ไวในใจ อรัญญปฏิปท กมหนี้นัน มีการสัมเปรฯธรรมทั้งหลายให้เล่นไป (มุงหน้าสู่ธรรม) เป็นลักษณะ มีอันผูก สัมเปรธรรมทั้งหลายไว้ในอารมณ์เป็นรส มีความวดต่ออารมณ์เป็น ปัจจุบัน" มีอารมณ์เป็นปฐฐาน มนสิการนี้ บันทึกพึงเห็นว่า เป็นธรรมจัดเข้าในส่งรับขันธ์ เพราะความเป็นธรรมยังสัมเปรธรรมให้ดำเนินไปในอารมณ์ ดูสาริติ (ยังกำให้เล่นไป ?) ฉะนั้น *อ. มหาภูมิว่าอธิโมกข์ ที่เป็นเยาวปนส่งรับนี้ เป็นไปด้วยอำนาจความคงใจเท่านั้นซึ่งบังคับสกุลได้ ส่วนอธิโมกข์ที่เป็นฝ่ายสทธานั้น เป็นปลาทาธิโมกข์น้อมในเชื่องอำนาจความเมื่อนใม่ เป็นคุณแท้ 2. สัตถิมนสิการ มีความมุ่งหน้า คืออัตต่ออารมณ์เป็นปัจจุบันเหมือนกัน มหาภูมิท่านใช้ให้เห็นความแปลกกันว่า สัตถินจดอยู่คู่ด้ออำนาจความไม่มี ส่วนมนสิการนี้ จดอยู่ด้วยอำนาจความผุกพัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More