ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิจัยมรรคผลภาค ๓ ตอนที่ ๑ หน้า ที่ ๑๒๖
อรรถบทที่ ๑ คืออายตนะโต - เพราะเป็นที่สับต่อ) มีอธิบายว่า
กิริยและเจตสิกธรรมทั้งหลาย ย่อมสับต่อ คือ หมื่นเพียรพยายามไปตาม
กิจ (คือหน้านี้) ของตน ๆ มีภาระเสย (รายธรรม) เป็นอาทิ ใน
ทวารและอารมณ์นั้น ๆ มีจัญและรูปเป็นต้น (เพราะฉะนั้น ทวาร
และอารมณ์นั้น ๆ จึงชื่อ อายตนะ) แปลว่า เป็นที่สับต่อแห่งจิตเจตสิก
ธรรมทั้งหลาย
อรรถบทที่ ๒ คือ อายาปน ตนบโต - เพราะอายะทั้งหลาย
มีอธิบายว่า ก็แปลวารและอารมณ์ทั้งหลายนัน ย่อมแผ่ คือขยาย (จิต
เจตสิก) ธรรมเหล่านั้นอันเป็นอายะ (ผู้มา) (เพราะเหตุนี้ ทวาร
และอารมณ์เหล่านั้นจึงชื่อ อายตนะ (แปลว่า เผขยายอายะ คือ จิต-
เจตสิกธรรม)
อรรถบทที่ ๓ คือ อายตสุ นยนโต - เพราะอ่าวอทะไป) มี
อธิบายว่า ก็การและอารมณ์ทั้งหลายนันยังไม่กลับ (คือยังไม่ดำ)
เพียงใด ก็ย่อมนำไปอ่อนสงสรรทุกอันเป็นไปในสงสรร ซึ่งมิเมืองต้น
เมืองปลายที่รู้ไม่ได้ เป็นอายตนะ (คือย่อมเยื่อ) ยืนดกอยู่แล้ว ให้เป็นไป
. ปะจายในบับพิมพ์ครั้งที่ ๑ (๒๔๕๓) เป็น ตัฑวดาวรมุนา เข้าใจว่าตลาด
เคลื่อน เพราะไม่บ่งลักษณะอะไรในวานการณ์ ที่จะแปลให้เป็นภาษามาได้ ว่าโดยรูปวาน-
ทวาสกติของเป็นบุ๋ย คืเป็น ทวารมุมานา เห็นในประโยคหลัง (บรรทัดที่ ๓)
ท่านใช้ศัพท์ว่าจา เอาดินี จะจับให้เป็นวิสณฑะของมุมมุ ร่วมกับจิตเดดลิกา เล่า
ก็ไม่เข้าเรื่องอะไรทั้งสิ้น
อายตนะศัพฑ์ในวรรคนี้เป็นอธิฏฐานสานนะ ก็แล้วศัพฑ์ไหนเล่าเป็นตัวอธิฏฐาน
ความตั้งอวะ ทวารมุม นั้นเองเป็นตัวอธิฏฐาน จึงตกลงแก้เป็น ทวารมุมแนษ สุ
เป็นอธิฏฐานในอานุฏู ได้ทั้งปวงและอธรภาพนะทุกอย่าง ดังแสดงไว้ขั้น