ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- วิภาษณ์บรรลุแปล ภาค ๓ ตอน ๓- หน้าที่ 65
ก็จิตสนดนั่นไม่ขาดสายสัตว์ทั้งหลายผู้ท่องเที่ยวอยู่ใน
ภาพ คติ จิต และนิวาสทั้งหลาย ย่อมเป็นไปดังนี้ คือ แต่ดูดีปุสิษณี
อีก ต่อปุสิษณีวังอึกอิก ... อยู่เนืองๆ แต่ในสัตว์ทั้งหลายั้น ท่าน
ผู้ได้บรรลุพระอรหัต เมื่ออัฐิจิตของท่านผู้พนันดับแล้ว จิต (ของ
ท่าน) ก็เป็นอันดับที่เดียวแปล
นี้เป็นถากบุญ (คำแก้ข้อที่สำคัญ) อย่างพิลาภา ในวิญญาณขันธ์
[เวทนาขั้น]
บัดนี้ พึงทราบวิบัณณัจฉปในข้อที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า "เวทนาขั้น"
พึงทราบว่า (เรียกอย่างนั้น) เพราะรวมธรรมชาติที่มีการเสวย (รส
อารมณ์) เป็นลักษณะสินทุกอย่างเข้าด้วยกัน ดังนี้ต่อไป
กันธรรมชาติที่การเสวย (รสธรรม) เป็นลักษณะ ก็ถือ
เวทนานั้นเอง ดังพระสรินยูตธกกล่าว (แก่พระมกโฏกโกฏ) ว่า
"ดูกรอาวุโส เพราะเหตุที่ธรรมชาติ ยอม
รู้สึก (สุข ทุกข์) เพราะเหตุนี้ จึงเรียกว่า เทวา" ดังนี้
[เวทนา ๑ เวทนา ๒]
ก็ควานั้น แม้ว่านามสภามีอย่างเดียว โดยลักษณะ คือ
เสวย (รสอารมณ์) แต่ ฐาโดยชาตเป็น ๓ คือ กุศล ออกุศล และ
อภัยกุศล ในเวทนา ๓ นั้น พึงทราบว่า เวทนาที่สัมผัสด้วยกุศล-
วิญญาณอันกล่าวไว้โดยยี้ว่า "กามาวิวารวิญญาณมี ๔" โดยต่างแห่ง