ชีวิตและสมาธิในธรรมชาติ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 74
หน้าที่ 74 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความเข้าใจในเรื่องชีวิตและสมาธิ โดยอธิบายว่าชีวิตมีลักษณะสำคัญที่เกิดจากธรรมชาติและการเป็นอยู่ ในขณะเดียวกัน ก็จะพิจารณาถึงลักษณะของสมาธิที่ดีและไม่ดี ที่สามารถนำไปสู่การควบคุมจิตและการตั้งมั่นในอารมณ์ให้เป็นจุดมุ่งหมายในชีวิต ความเข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างของชีวิตในรูปธรรมและอรูปธรรมช่วยให้เห็นว่าสิ่งต่าง ๆ เชื่อมโยงกันอย่างไรในการเป็นอยู่ของเราในโลกนี้

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของชีวิต
-สมาธิและลักษณะของมัน
-ความแตกต่างระหว่างชีวิตรูปธรรมและอรูปธรรม
-ธรรมชาติและชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค~ วิภัชิมรรแปล ภาค 3 ตอน 1 - หน้าที่ 73 [1] ชีวิต สหชาติธรรมทั้งหลาย ย่อมเป็นอยู่ด้วยธรรมชาตินั้น เหตุนี้ ธรรมชาตินั้น จึงชื่อชีวิต (แปลว่าสมชาติครื่องเป็นอยู่แห่งสหชาติ- ธรรม) นั้นหนึ่ง ธรรมชาตินั้นเป็นอยู่เอง เหตุนี้ จึงชื่อชีวิต (แปลว่าธรรมชาติเป็นอยู่) นั้นหนึ่ง ธรรมชาตินั้นเป็นเพียงความ เป็นอยู่เท่านั้น เหตุนี้ จึงชื่อชีวิต (แปลว่าความเป็นอยู่) ส่วน ลักษณะเป็นต้นแห่งชีวิตนั้น พึงทราบโดยที่กล่าวแล้วในชีวิตแห่งรูป เกิด ความแตกต่างในชีวิต - นั่นก็คือ อันนั่นเป็นชีวิตแห่งรูปธรรม ทั้งหลาย อันนี้เป็นชีวิตแห่งอรูปธรรมทั้งหลาย ทั้งนี้เอง [2] สมาธิ กรรมแห่งสมาธิฤทธิ์ กรรมใดจัดไว้ในสมในร้วมนี้ เหตุนี้ ธรรมมันชื่อว่า สมาธิ (ธรรมผู้ตั้ง (จิต)ไว้สมอ) นั่นนึง ธรรมใดตั้งไว้ใจ ชอบในอารมณ์ เหตุนี้ ธรรมมันชื่อว่า สมาธิ (ธรรมผู้ตั้ง (จิต) ไว้โดยชอบ) นั่นนึ่ง ธรรมชาตที่ผ่านมาอสมาธิ่น ก็อคือความตั้งมั่นแห่ง จิตเท่านั้นเอง [ลักษณะ---แห่งสมาธิ] สมาธินั้นมีความไม่พล่านไปเป็นลักษณะ หรือว่ามีความไม่ฟุ้งซ่าน เป็นลักษณะก็ได้ มีการประมวลสหชาติธรรมทั้งหลายไว้ (ให้เป็น กลุ่ม) เป็นรส จุดนี้น่าที่อาจสำหรับสนามไว้ (ให้เป็นก้อน)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More