ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิภัชชิมวรรลบภาค ๓ ตอน ๑ - หน้าที่ ๖๗
มีการเสวยโภคภูพะอันไม่่น่าปรารถนาเป็นลักษณะ มีอันคลุมสัมปท
ธรรมทั้งหลายลงเป็นรส มีความไม่สบายทางกายเป็นปฐมฐาน มี
กายทิพย์นี้เป็นปฐมฐาน โสมันท มีการเสวยอวิญญาณเป็นลักษณะ
มีอันเสวย (สุข) ด้วยอาการพอใจไม่อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นรส มีความ
สบายทางใจเป็นปฐมฐาน มีสัมผัส (ความระงับแห่งนามกาย) เป็น
ปฐมฐาน โทมนัส มีการเสวยอนุญาอารมณ์เป็นลักษณะ มีอันเสวย
(ทุกข์) ด้วยอาการไม่พอใจไม่อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นรส มีความไม่
สบายทางใจเป็นปฐมฐาน มีหทิวัตถุเป็นปฐมฐานโดยส่วนเดียวเท่า
นั้น อุบกา มีการเสวยมัชฌิมธาตตามม เป็นลักษณะ มีอันไม่เพิ่มเติม
ไม่คลาดสัมปญาธรรมชาติเป็นรส มีความละเมียดเป็นปัจจัยฐาน มีจิตอัน
ปราศจากดีเป็นปฐมฐาน และ
นี้เป็นกฎมูลอย่างพิสดารในกานานี้
[สัญญาขันธ์]
บัดนี้ พึงทราบวินิจฉัยในบทที่ว่าพเจ้ากล่าวไว้ว่า “สัญญาขันธ์”
พึงทราบว่า (เรียกอย่างนั้น) เพระามธรรชาติที่มีความจำได้เป็น
ลักษณะสิ้นทุกอย่างเข้าด้วยกัน ดังนี้ต่อไป
๑. ยาน ตา วา มาหฤกัยกัลยา ภาวะ โปรกปะโนโต วา โดยภาวะ (คือแสดงความ
พอใจออกมาจให้ปรากฏ อย่างไทยเรพูดว่า ออกนนอกหน้า ?) หรือโดยปรับิน (คือคิด
พอใจอยู่ในใจ อย่างไทยเราว่า อยู่ในหน้า ?) และใบความออกไปอีกว่า ยกฤเตน วา
อารมณ์ดำ ว ชิณาคมรณ ด้วยอาการพอใจดวงที่เป็น (คือแสดงออกทางตรง ๆ) หรือ
มิโตมาหที่เป็น (คือคิดอยู่ในใจ หรือแสดงออกเป็นอย่างอื่น ที่เรียกว่ามารยา ?)
๒. มหกูฏา ว่า โมหนัสถ์มหัศจรรย์อันเป็นปฐมฐานโดยส่วนเดียว เพราะโทมนัสคิดในนามฐาน