วิจารณ์ธรรมเปล่า ๆ คาด คาถา ๑ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 275
หน้าที่ 275 / 405

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้กล่าวถึงการวิเคราะห์อารมณ์และความแตกต่างของอารมณ์ที่เกิดจากจิตและเจตสิก โดยเน้นที่อารมณ์ที่เป็นเหตุให้เกิดความหนักและอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับกุศล ความแตกต่างของอารมณ์เหล่านี้ถือเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ส่งผลต่อการเกิดกุศลในจิตและธรรม อนันตรปัจจัยนั้นมีบทบาทในการกำหนดสภาพจิตและอารมณ์ โดยที่จิตและเจตสิกถือว่าเป็นอุปนิสัยที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ความกุศลในช่วงเวลาต่าง ๆ ด้วยความเข้าใจในธรรมเหล่านี้ ผู้ที่ศึกษาและประยุกต์ใช้จะได้ประโยชน์จากการพัฒนาจิตใจและการเข้าใจธรรมชาติของความคิดอย่างลึกซึ้ง.

หัวข้อประเด็น

-การวิจารณ์ธรรม
-อารมณ์ทางจิต
-เจตสิกและความแตกต่าง
-ปัจจัยแห่งกุศล
-อนันตรปัจจัยในธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิจารณ์ธรรมเปล่า ๆ คาด คาถา ๑ ในอารมณ์นั้น จิตและเจตสกทั้งหมดทำอารมณ์ใดให้เป็น ที่หนักเกิดขึ้น อารมณ์นั้น โดยนิยมกันเป็นอารมณ์มีกำลังในบรรยา อารมณ์แหล่านั้น ด้วยประการดังกล่าวมา ความต่างกันแห่งอารมณ์ เหล่านั้น พึงทราบดังว่า นับว่าเป็นอารมณ์ธิด โดยหมายว่าเป็น เพียงอารมณ์ที่พึงให้เป็นที่หนัก นับว่าเป็นอารมณ์บุญสละ โดย หมายว่าเป็นอารมณ์ที่เป็นเหตุคำล่าง [อนันตรูปสลดะ] แม้อนันตรูปสลดะ ท่านก็จะแน่ใจไว้โดยไม่ทำความต่างกับ อนันตรปัจจัยเหมือนกัน โดยยว่า "ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศลก่อน ๆ ย่อมเป็นปัจจัย โดยเป็นอุปนิสัยยยปัจจัยแห่งขันทั้งหลายที่เป็นกุศล หลัง ๆ ดังนี้เป็นต้น แต่ในนามกิธานกเปน ความแปลกกันในนินทขบ แห่งจิตและเจตสิก (ที่เป็นอนันตร ปัจจัยและอนันตรญฺญตปสลดะ) หล่านั้น มีอยู่ เพราะอนันตรปัจจัยยามโดยยว่า "จิตวิญญาณธาตุและธรรม ทั้งหลายที่สัมปยุทธกญฺญุจญฺญานนั้น เป็นปัจจัยโดยเป็นอนันตร์- ปัจจัยแห่งโมหธา และแห่งธรรมทั้งหลายที่สัมปยุทธกบโมหธนั้น" ดังนี้เป็นต้น (ส่วน) อนินิสสยะมาโดยยว่า "ธรรมทั้งหลายที่เป็น กุศลก่อน ๆ ย่อมเป็นปัจจัยโดยเป็นอุปนิสัยปัจจัยแห่งธรรมทั้งหลายที่ เป็นกุศลหลัง ๆ ดังนี้เป็นอาทิ แม้ว่าความแปลกกันในนินทกเปน ย์ โดยใจความถึงซึ่งความเป็น อันเดียวกันนั่นแล ถึงเป็นอย่างนั้น (ความแปลกกันก็อยู่คือ ความเป็น อนันตรปัจจัย พึงทราบโดยความเป็นธรรมสามารถในอันยังจิตจิตบาด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More