อรรถาธิบายคำประพันธ์และธรรมแห่งอำนาจปัจจัย วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 235
หน้าที่ 235 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์คำประพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับอำนาจปัจจัยและความเป็นอยู่ของธรรมอย่างละเอียด โดยมีการแยกประเภทต่าง ๆ เช่น สัจจวตะ อนุภาพ และวิสถีถวา ที่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลในจักรวาลและสถานการณ์ของสัตว์ทั้งหลาย การอ้างถึงข้อคิดจากธรรมชาติและการปฏิบัติที่นำไปสู่ความเข้าใจในความจริงอันเป็นสัจจะและกำลังของปัจจัย

หัวข้อประเด็น

-อรรถาธิบายคำประพันธ์
-อำนาจปัจจัย
-ธรรมชาติ
-ผลของบุญบาป
-การเกิดขึ้นแห่งธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสถีมุทธบรรเลง ถลก ด ค ตอน ๑ - หน้า ที่ 234 อรรถาธิบายแห่งคำประพันธ์นี้ว่า คำว่า “ด้วยบทหนา” เป็นต้น ความว่า ความเป็นสัจจวตะ เป็นต้น ซึ่งแยกออกไปเป็นสัจจวตะ (กล่าวว่าจัตตะแและโลกิเบง ไม่สุข ตายแล้วเกิด) อนุภาพ (กล่าวว่Cause effectอันแห่งความเศร้ามอง และความบริสุทธิ์ ของสัตว์ ทั้งหลายไม่มี แล้วแต่โชคเคราะห์) วิสถีถวา (กล่าวว่ากโลกเป็น ไปด้วยอำนาจเหตุไม่สมดุล คือด้วยอำนาจประกติ อณู และกาล เป็นต้น) วสติถวา (กล่าวว่ามีพระอิศวร อาตมัน หรือพระไชยดี คือพรหม เป็นผู้รองรับสัตว์ไว้ในอำนาจ คือเป็นผู้นับคา) เป็นอน ทรงแสดงด้วยบทปฏิปัจจ์ ซึ่งส่องความพร้อมเพรียงแห่งปัจจัย เพราะ ปวัตตธรรม (ธรรมฝ่ายปวัตติ - หมุนไป) มีความเป็นไปเนื่องอยู่ใน ความพร้อมเพรียงแห่งปัจจัย จริงอยู่ ประโยชน์อะไรด้วยความ พร้อมเพรียงแห่งปัจจัย สำหรับที่เป็นสัจจะเป็นต้น หรือสำหรับ สิ่งที่เป็นไปอันอนาจจอเหตุอันเป็นต้น คำว่า “และ----ด้วยบทหลัง” เป็นต้น ความว่า อุดมวาทะ (กล่าวว่าตายแล้วสุข) นัตถิวามะ (กล่าวว่าอะไร ๆ ไม่มี ผลของ บุญบาปก็ไม่มี) อภิริยาวะ (กล่าวว่าไม่เป็นอัตำ คืทอะไรไม่เป็น กรรม) ชื่อว่าถูกปิดออกไป เพราะความเกิดขึ้นแห่งธรรมทั้งหลาย ก็เพราะความพร้อมเพรียงแห่งปัจจัย เหตุนี้จึงเป็นอันทรงแสดงความ แย้งต่ออุจฉวาทเป็นต้นด้วยบทสุมมาค ซึ่งส่องความเกิดขึ้นแห่งธรรม ทั้งหลาย จริงอยู่ในอธรรมนอกจากนี้แล้ว ๆ เล่า ๆ ด้วย อำนาจแห่งปัจจัยก่อน ๆ อยู่ อุจฉวาทะ นัตถิวามะและอภิริยาวะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More