ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิถีธรรมครูเปลภาค ๓ ตอนที่ ๑๘๖
อุปายาสเป็น (เจตสิก) ธรรมอันหนึ่งบังเกิดในสง่าภันธ์ อุปายาสนั้นมีความแผดเผิดจิตเป็นลักษณะ มีการทอดคอนไม่เป็นรส มีความตรงความเป็นไจปัญญา ส่วนว่า อุปายาสเป็นทุกข์ พึงทราบว่าเพราะความเป็นสง่าบทุกข์ เพราะแผดเผิดและเพราะทำร่างกายให้เมื่อยชัดด้วย เพราะเหตุนี้นักปราชญ์จึงกล่าวคำประพันธ์นี้ไว้ว่า
จิตฎสุด จ ปริหนนา ปป ๆ ทุกข์ ไป ๆ โดด โอฌตโต
อุปายาส ย่อมยังทุกข์ไปให้คิด ทุกข์นั้นว่ามี
ประมาณยิ่ง เพราะทั้งแผดเผิดจิต ทั้งทำให้
เมื่อชิดเหตุเนื่อง อุปายาส พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสว่า เป็นทุกข์
นี้เป็นวิจินฉันในอุปายาส
[เปรียบเทียบโลภะรินทะอุปายาส]
ก็แล้ว ในโลภะ รินทะ และอุปายาสนี้ โลภะ พึงเห็นเหมือน
การที่ (น้ำ) เดือดอยู่ในภาชนะด้วยไฟอ่อน ๆ ประดาษ พึงเห็น
ดังการ (ลั่น) ออกจดากษณะแห่งนี้เมื่อด้วยไฟแรง อุปายาส
พึงเห็นเช่นการเดือดจะแห้งไปออยู่ในภาชนะนั้นเอง แห่งน้ำที่เหลือ
จาก (ลั่น) ออกข้างนอกแล้วไม่พอจะ (ลั่น) ออกอีก
[อุปปายสัมโพธุกทุกข์]
การร่วมข้ากับสัตว์และสังจากทั้งหลายที่ไม่ชอบใจ ถืออัปปาย
สัมโพธิ อัปปายสัมโพคนั้น มีการพบปะกับสัตว์และสังจากที่ไม่
ปรารถนาเป็นลักษณะ มีการทำความดับใจเป็นธรร มีความเกิด