ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิภาวดีรามเปล่า ภาค ๑ ตอนที่ ๑๐๒
รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน หมายการแยกประเภทเป็นอคติเป็นต้น ด้วยอำนาจสันติเป็นส่วนหนึ่งต่างหากไม่ แต่ความเป็นอคติเป็นต้น
แห่งรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานนั้น พึงรำบาก (ว่าเป็น) โดยเป็นอุปสมภฤติของรูปนี้อุบ อาหาร และจิตเป็นสมุฏฐานเหล่านั้นและ
ว่าโดยสมมัย รูปนี้สมมัยนั้น ๆ อันเป็นไปโดยสัมผัสกันในสมมัยทั้งหลายมีคู่หนี้หนึ่ง และตอนเช้า ตอนเย็น ตอนกลางคืน ตอนกลางวันเป็นต้น จัดเป็นปัจจุบัน รูปในสมมัยก่อนแต่นั้น จัดเป็นดี รูปในสมุฏฐานแน่นั้น จัดเป็นอนาคต
ว่าโดย ขณะ รูปที่เนื่องอยู่บนขณะ ๓ มีอุปขณะเป็นต้น จัดเป็นปัจจุบัน รูป่อื่นนั่น จัดเป็นอนาคต รูปลังกั้นนั้นจัดเป็นอคติ อีกอย่างหนึ่ง รูปที่เหตุเกิดและปัจจัยก็งไปแล้ว จัดเป็นดี รูปที่มีเหตุเกิดเสร็จแล้ว แต่ปัจจัยยังไม่เสร็จ จัดเป็นปัจจุบัน รูปก็คือทั้งสองอย่างไม่ถึงเข้า จัดเป็นอนาคต หรือวาระรูปในขณะทำของตนเป็นปัจจุบัน รูปนั้นเป็นอนาคต รูปหลังนั้นเป็นอคติ ก็แล้วก็ตามแก่นรูปนี้ ขนานกกวา (ว่าด้วยขณะเป็นต้น)
๑. ตรงนี้ชวนแง้ม เพราะกลับกันกับตอนนั้น ๆ แต่ฟังท่านนี้เหตุแล้วเห็นได้ทันที คือ ความเกิดของรูปนี้อยู่ในขณะ ๓ นั้นเท่านั้น ก่อนแต่นั้นนับเป็นอนาคต ก็เพราะยังไม่เกิด หลังแต่นั้นนับเป็นอคติ เพราะมันล่วงเลยนะ ๓ ไปแล้ว