วิถีธรรมาธรรมเปล ภาค ๓ ตอนที่ ๒๗๓ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 274
หน้าที่ 274 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาทั้งหมดพูดถึงอุปนิสัยปัจจัยที่แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ อารมณ์ปัจจัย สนิทปัจจัย และอุปนิสัยปัจจัย โดยเน้นที่อารมณ์ความรู้ความเข้าใจที่เป็นหลักสำคัญในกระบวนการเป็นผู้อยู่ร่วมทางธรรม และการสร้างกรรมดีในปัจจุบัน โดยนำเสนอภาพรวมของกรรมดีที่มีต่อสภาวะจิตของบุคคลที่ฝึกฝนในทางธรรม ความตั้งใจและการทำความดีจึงถือเป็นสิ่งสำคัญในการสร้างพื้นฐานที่มั่นคงเพื่อก้าวสู่ความตระหนักรู้และความผ่องแผ้วในจิตใจ

หัวข้อประเด็น

-อุปนิสัยปัจจัย
-อารมณ์ปัจจัย
-กัลยาณกรรม
-จิตและธรรมะ
-การสร้างกรรมดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมาธรรมเปล ภาค ๓ ตอนที่ ๒๗๓ แรง) เพราะเหตุนี้น่าธรรมผู้อุปหนุนโดยความเป็นเหตุมีลำดับ ลึง ทราบว่าผู้อุปหนุนสิปัจ อุปนิสัยปัจจัยจึงเป็น ๓ อย่าง คือ อารมณ์ปัจจัย สนิทปัจจัย อุปนิสัยปัจจัย [อารมณ์ปัจจัยสังขะ] ในอุปนิสัยปัจจัย ๓ นั้น อันดับแรก อารมณ์ปัจจัย สนิทปัจจัย ท่าน จำแนกไว้ (โดย) ไม่ทำความต่างกับอารมณ์เนื้อดี (ความมีอารมณ์ เป็นใหญ่?) เลย โดยย้อม "การบูตบุญให้ทานแล้ว สมาทนศีลแล้ว ทำอุปสรรคกรรมแล้ว ปัญจอุปกรณ์ถึงกุลจรรจ์ที่กล่าวนั้น (โดย) ทำ (กัลยาณกรรมมั่น) ให้เป็นที่หนัก (คือเป็นใหญ่เป็นสำคัญ) ปัจจุบัน ถึงกัลยาณกรรมทั้งหลายที่ได้เปรียบดีแล้วในกาลก่อน (โดย) ทำ (กัลยาณกรรมมั่น) ให้เป็นที่หนัก ออกจากกาลนานแล้วปัจจุบัน (องค์) ถาน (โดย) ทำ (ถานนั้น) ให้เป็นที่หนัก พระเสกบุณกัลทั้งหลาย ปัจจุบันนี้โครตรู (โดย) ทำ (โครตรูนั้น) ให้เป็นที่หนัก ปัจจุบัน โวทาน (ความผ่องแผ้วแห่งจิต) (โดย) ทำ (โวทานนั้น) ให้เป็นที่หนัก พระเสกบุณกัลทั้งหลายออกจากกามวรร (วังสี่) แล้ว ปัจจุบันนี้วรร (โดย) ทำ (มรรคนัน) ให้เป็นที่หนัก" ดังนี้เป็นอาทิ - อภิ. ป. ๕๑/๑๓๓ มาถึงว่า พระเสกบุณกัลปจูงจรนั่นหมายถึง พระโสภณ (เพราะเป็นพระแรกผ่านโครตรก) ส่วนท่านผู้ปฏิญาณวิโททน หมายเอา พระสภาทจิณและพระอานามิ เพราะจิตของพระเสกบุณกัลประเภทนี้ได้ชื่อว่า โวทาน อื่นหยงหนึ่ง พระเสกบุณ มามอพระอริยบุคลคลทั้ง ๓ ประเภทนั้นก็ได้ชื่อ ว่า ส่วนที่ออกจากมรรคนั้นหมายความว่าออกจากมรรค์ที่ตนได้ โดยกล่าวส่วนมรรครวัง (ทำไว้การออกจากมรรครแท้ ๆ ดังออกจากมรรครังไม่ ?)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More