วิชาธรรมาภิบาล ๓: วัฏจักรและอวิชชา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 385
หน้าที่ 385 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักร โดยเจาะลึกถึงความสำคัญของอวิชชาและตันหาในการพาความคิดและพฤติกรรมของบุคคลเข้าสู่การเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งมีทั้งแง่มุมที่มืดมนและประกายแห่งความเข้าใจ. อวิชชาและตันหาถูกอธิบายว่าคือมูลที่ทำให้เกิดวัฏจักร โดยมีการจำแนกเป็นสองส่วนที่สำคัญ อันมีอวิชชาเป็นมูลและตันหาเป็นปัจจัยเสริมในการแสดงผลของการกระทำที่ส่งผลต่ออนาคตของบุคคล.

หัวข้อประเด็น

- อวิชชาในวัฏจักร
- ตันหาและผลของการกระทำ
- ความสัมพันธ์ของบุคคลในสงสาร
- การรับรู้และความเข้าใจในธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิชาธรรมาภิบาล ๓ ตอนที่ ๓ หน้า ๓๘๔ มีความเป็นไปเนื่องด้วยปัจจัย องค์ความทั้งหลายมีลักษณะเป็นต้น ก็คงอย่างนั้น เหตุใด นั่นหนึ่ง อวิชชา มิใช่ของ มิใช่ของตน มิใช่ของตน ตน มิใช่ตน แม้งังทั้งหลายมีลักษณะเป็นตนอย่างนั้น เหตุใด เหตุนี้นะ ภาวะนั้น บันลึกพึงทราบว่่า ว่างเปล่าโดยสัญญา ๑๒ ประกาย (โดยนัยดังกล่าว) [มูลและกาลแห่งวัฏจักร] ก็แล้วครั้งทราบอย่างนี้แล้ว พึงทราบอีกว่า [คาถาสังเขปมูลและกาล] อวิชชาและตันหาเป็นมูลแห่งวัฏจักรนั้น กาลของ มันมี ๓ มืดดำกลเป็นต้น องค์ในกล ๑ นั้นโดย สรุปก็ ๒ และ ๔ และ ๒ เท่านั้นเอง [ขยายความ] ความว่า ธรรม ๒ คือ อวิชชาและตันหา พึงทราบว่า เป็นมูล แห่งวัฏจักรนั้นนั้นแล ภาวะนั้นแก่ก็จัดเป็น ๒ ส่วน คือที่มีอวิชชา เป็นมูลมีวามานเป็นที่สุด (เป็นวัฏจักร ๑) เพราะนำ (ปัญจบันผล) มาแต่ ส่วนเบื้องต้น (คือส่วนอดีต) ที่มีตันหาเป็นมูล มีรวมระยะเป็นที่สุด (เป็นวัฏจักร ๑) เพราะต่อกับ (ผล) ส่วนเบื้องปลาย (คืออนาคต) ในวัฏจักร ๒ ส่วนนัน ภาวะส่วนแรกกล่าวว่าด้วยอำนาจบุคคลกิริยาจริง ส่วนหลังกล่าวว่าด้วยอำนาจบุคคลตันหาด้วยว่า อวิชชาเป็นสงสาร- นำนึก (ผู้นำไปในสงสาร) สำหรับบุคคลกิริยาต่างๆ ต้นหา เป็นสงสารนั่นก็สำหรับบุคคลกิริยาทั้งหลาย นั้นนี้ ภาวะที่ ๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More