วิสุทธิธรรมนลกานปลด ภาค ๓ ตอนที่ ๑ หน้าที่ ๒๔๖ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 247
หน้าที่ 247 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงอิทธิพลของธรรมชาติที่ส่งผลต่อสัตว์ในสงสาร โดยมุ่งเน้นไปที่ธรรมชาติที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับบริบทของบัญญัติธรรม เช่น อวิชา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปิดบังและการสืบค้นทางจิตและอารมณ์ของวิญญาณ นอกจากนี้ยังสำรวจถึงปัจจัยและผลที่เกิดจากธรรมชาติด้วยการทำความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ในการดำเนินงานของธรรมในโลกปรัชญา ด้วยการยกตัวอย่างและนิยามที่ชัดเจนและลึกซึ้งในเรื่องนี้

หัวข้อประเด็น

-อิทธิพลของธรรมชาติ
-การตีความในธรรม
-อวิชาในแง่ปรัชญา
-สัตว์ในสงสาร
-ปัจจัยและผลในธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสุทธิธรรมนลกานปลด ภาค ๓ ตอนที่ ๑ หน้าที่ ๒๔๖ โดยอรรถก็คือบันเป็นต้นเหตุแห่งอิทธิพลของธรรม เป็นความที่มีอิทธิพลในธรรมชาติซึ่งชื่อวิชาคือ (ทำอรรถแห่งอิทธิพลบันให้ปรากฎ) (๕) ธรรมชาติใด สัตว์ดั้งหลายให้แผ่นในปณิธาน คติ ภู วิญญาณจิต และสัตว์วาสทั้งปวง ในสงสารอนปราจจากที่สิ้นสุด เหตุ นี้ ธรรมชาตินี้จึงชื่อวิชาคือ (สัตว์ใดให้แผ่นไปในสงสารอนปราจจาก ที่สิ้นสุด) (b) ธรรมชาติใด่ย่อนำไปในบัญญัติธรรมทั้งหลาย มีหญิง และชายเป็นต้น อันไม่มีอุปโดยมิติ ไม่แผ่นไปในบัญญัติธรรมมี ขันเป็นอาติ แม้มีอยู่โดยมิติ เหตุนี้ ธรรมชาตินั้นจึงชื่อ อวิชา (แผ่นไปในอวิชามานบัญญัติ หรือไม่แผ่นไปในวิชามานบัญญัติ) (ก) อื่นอีกหนึ่ง ธรรมชาตินั้นชื่อวิชาคือ เพราะปิดเสียซึ่ง วัดคุณและอารมณ์แห่งวิญญาณมีจิตจิตจิตเป็นต้น และซึ่งธรรม ทั้งหลาย ทั้งที่เป็นปฏิรูปบาท (คือปัจจัย) และที่เป็นปฏิรูปมัน (คือผล) (ดังนี้) ก็ได้ (โดยสภาวะ) [ปัจจัย] ผลอาศัยธรรมไป ธรรมนี้ชื่อปัจจัย (แปลว่าวรรณะเป็นที่ อาศัยไปแห่งผล) ศัพท์ว่า "ปฐวร - อาศัย" หมายความว่าไม่เว้น ไม่ ปฐวีส ศัพท์ว่า "เอธ - ไป" หมายความว่าเกิดขึ้นและเป็นไป อีก . มหาฤทธิ์งานสังกุฎ สื่่ว่าอิทธิในอวิชชาในธรรมนั้น ท่านจึงเอาคะนะดับสัพพ์ อนุวริต ชาวปดี้ คือ อ. จาก อนุก วิ. จาก วิริต ช. จาก ชาวปดี ประกอบเข้า ลบออกย อื่น ๆ เสียดัง ตาม ช. อามทอที่บรรจ์ ๑ สำเร็จรูปเป็น อวิชชา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More