ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค~ วิทยาธีรมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ที่ 77
ได้ด้วยความกลัว จุดแพ้พย ฉะนั้น กีแลธรรม ๒ ประการนี้ บันฑิตพึงเห็นว่า เป็นโลกปลวกธรรม [๑๑.๕๕๕ อโณะ อโทสะ อโมหา]
สัตว์ทั้งหลายไม่โลภด้วยธรรมนันเป็นเหตุ ธรรมนันจึงชื่อโลกะ (แปลว่าธรรมเป็นเหตุไม่โลภ) นั้นหนึ่ง ธรรมใด ไม่โลกอยู่เอง ธรรมนันชื่อโลกะ (แปลว่าธรรมอันไม่โลภ) นัย หนึ่ง ธรรมชาตินั้นสังก์เป็นอันไม่โลภเท่านั้น เหตุฉะนั้นชื่อโลกะ (แปลว่าความไม่โลภ) นัยะแม้ในโอทะเลอโมทะ กิเลสเดือดว้น [ลักษณะ-----แห่งโลกอ โลทะอ โมทะ]
ในธรรม ๓ ประการนั้น อโลทะมีความที่ติไม่กำหนด (ไม่อยากได้) ในอารมณ์มีเป็นลักษณะ นั้นหนึ่ง มีความที่ติไม่ติดข้องอยู่ในอารมณ์เป็นลักษณะ ประหนึ่งหายตามไม่ได้ในลิขบัวนั้น มีความไม่หวังแหา (ในอารมณ์) เป็นรส ประหนึ่งกิเลสผู้นั้นแล้ว (จากมาราวสิกา ไม่หวังแห่งวัตดูแห่งมาราวา ) จะนั้น มีความต้องการในอันไม่ติด (แต่) อยู่ (ในอารมณ) เป็นปัจจุบัน ประหนึ่งคนที่อยู่ในโสโลครร (ไม่ต้องการจะคิดแช่อยู่ในโสดครนั่น) จะนั้น อโลทะ มีความไม่คุร่ายเป็นลักษณะ นั้นหนึ่งมีความไม่อือผิดเป็น