ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิทยาธิรมรแปลง ภาค ๓ ตอน ๑ - หน้าที่ 74
ฉะนั้น มีความสงบระงับเป็นปัจจุบัน มีความสุขเป็นปฐมฐาน
โดยพิเศษ
สมาธิ มีลักษณะพึงเห็นว่า เป็นความตั้งอยู่แห่งจิต ดูความตั้ง
อยู่แห่งเปลาประโยชน์ในที่ไม่มีลมฉะนั้น
[๙ สัทธา]
บุคคลทั้งหลายย่อมเชื่อด้วยธรรมธาตินั่น เหตุนี้ ธรรมชาตินั้น
ซึ่งชื่อสัทธา (แปลว่าธรรมชาติเป็นเหตุเฉื่อย) นั้นหนึ่ง ธรรมชาติ
นั่น ย่อมเชื่อเอง เหตุนี้ ธรรมธาตินั้นจึงชื่อสัทธา (แปลว่าธรรมชาติ
ผู้ชื่อ) นั้นหนึ่ง ธรรมชาตินั้นเป็นเพียงความเชื่อเท่านั้น เหตุนี้
ธรรมชาตินั้นจึงชื่อสัทธา (แปลว่าความเชื่อ)
[ลักษณะ---แห่งสัทธา]
สัทธานั้น มีความเชื่อเป็นลักษณะ หรือว่า มีความมุ่งใจเป็น
ลักษณะก็ได้ มีการทำในสิเป็นรส ดังกล่าวอุทกภาคะ (แก่ทำให้ให้
ใส) หรือว่ามีความแสนไป (ตามอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความเชื่อ)
เป็นรสก็ได้ ดูแสนไป คือไหลลวกตามกระแสน้ำเชื่อม ในการข้าม
ห้วยน้ำ (ที่นาม) นะนั้น มีความไม่ชุนวัณเป็นปัจจุบัน หรือ
๑. วิสาสะ - โดยพิเศษ มหาภูมิกล่าวว่า 'โดยมาก' แล้วอธิบายว่า เพราะสมาธิ่วน
จากสุขมี
๒. หมายความว่า ตั้งแนวอยู่ไม่ออกแน่ก็จริง แต่ไม่ใช่ดับ มีความสับสนอยู่เหมือน
เปลาประโยชน์ในที่ไม่มีลม ดื่มอยู่ฉะนั้น