ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิภัชธรรมาภรณ์ ภาค ๑ ตอน ๑ หน้าที่ 55
ทั้งหลายนี้ เป็นสาม โดยประเภทแห่ง (เวทนาคือ) อุปปุคฆะ สุข โสม- นัส อุกุสลิวากทั้งหลายมีสอง ด้วยอำนาจแห่งทุกข์และอุปปุคฆะ
ก็ในอุกปากวานิกฤทธิวิญญาณนี้ ถาวิกาญาณเท่านั้นเป็นอุกปุคฆะ วิญญาณ ที่เหลือเป็นอุปปุคฆะ วิญญาณทั้งหลาย นั้นนั่นเล่า ก็เป็นอุปปุคฆะอย่างเลย ไม่ยืนหยัด คล้ายทุกข์ อุปปุคฆะ ในฝ่ายทุกข์วิมากทั้งหลายเป็นอุปปุคฆะประกะณต (แต่) ก็ไม่สูญเลย คล้ายสุข
ถามว่าวิญญาณเป็น ๒๓ โดย (รวม) อุกปุคฆา ๑ นี้ และวิญญาณ ๑๖ ที่กล่าวมาข้างต้น ด้วยประการฉะนี้
[รูปวาจร---อรูปวาจร---และโลกฏรวิญญาณ]
ส่วนรูปวาจรวิญญาณกมี ๕ ดัง (รูปวาจร) กุสล แต่ (รูป-วจร) กุสลเป็นไปในชวนวติ โดยทางสมบัติ (คือเข้าสมาน) รูปวาจร- วิญญาณนี้เป็นไปในอุปปัต (คือเข้าสิง) ทางปฏิสันถิ วิ่ง และอุปติ องนี้ รูปวาจรวิญญาณเป็นฉันใด แม้รูปวาจรวิญญาณก็มี ดัง (รูปลาวจร) กุสลนั้น ถึงประเภทแห่งความเป็นไปของอุปปุคฆ- วิญญาณนั้น ก็มีนัดตามว่าแล้วในรูปวาจรวิญญาณเหมือนกัน โลกฏรวิญญาณ จัดเป็น ๔ เพราะเป็นผลของจิตที่ประกอบด้วย มรรค ๕ โลกฏรวิญญาณนั้น เป็นไป ๒ ทาง คือทางมรรควิธี ๑ ทาง ผลสมาบัติ ๑ และ วิญญาณทั้งสิ้นมี ๑๖ ในภูมิ ๕ ดังกล่าวมาข้างนี้
ปาตุรพิมพ์ไวเป็น อุปปุคฆีย เข้าใจว่าพิรุณ ที่ถูกเป็น อุปปุคฆีย