ความหมายและปัจจัยของชาติในธรรมภาพ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 378
หน้าที่ 378 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงการวิเคราะห์อุปนิสัยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับชาติในธรรมภาพ โดยเน้นถึงธรรมเฉพาะที่อาจมีผลต่อการเกิดชาติ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและอุปนิสัย การเข้าใจถึงธรรมพันธุในฐานะที่เป็นปัจจัยแห่งชาติ และการแยกแยะระหว่างกุศลกรรมและอุปกุศลกรรม รวมทั้งการชี้แจงถึงความหมายของคำว่า 'ภาพ' ว่าเป็นปัจจัยของชาติในแนวทางที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยภายนอกและภายใน

หัวข้อประเด็น

-ปัจจัยของชาติ
-ธรรมภาพ
-อุปนิสัย
-การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
-กรรมและอุปกุศลกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิทยามีครมเปล่าก ค ๓ โดยเป็นอุปนิสัยปัจจัยเท่านั้น ของรูปภาพอภิวัธิ์ คือของธรรมเฉพาะ ที่เป็นกุศลในธรรมภาพ อันนันเนื่องในภาพและของอุปนิสัย ด้วย (ส่วน) ในภาพ มันเป็นปัจจัยโดยสหชาติปัจจัยตั้งแต่แสดงออกเป็น สหชาต---อัญญญาอัญญ---สัมปฤทธ—อัดด—อิวิด—และเหตุ ปัจจัย ของอุปนิสัยของอั้นสัมปฤทธกับตนฯ แต่เป็นปัจจัยโดย อุปนิสัยปัจจัยอย่างเดียว ของธรรมภาพที่เป็นวิจูฎ นี่เป็นกาวอย่างพิสดารในทว่า อุปาทานปุจฉา ภว [แก้ไข ภวปุจฉา ชาติ] ในบททั้งหลายมีมากว่า ภวปุจฉา ชาติ เป็นอาทิ การนิยฉันคำ มีคำว่าชาติเป็นต้น พึงทราบโดยเน้นที่กล่าวแล้วในสัจฉบรรเทศ คำว่า ภิว ในบทนี้หมายเอาธรรมภาพอย่างเดียว เพราะธรรมพันธุ เป็นปัจจัยแห่งชาติ อุปบิดพาเป็นปัจจัยไม่" กัแลธรรมพันธุเป็น ปัจจัยสองอย่าง โดยเป็นกรรมปัจจัยและอุปนิสัยปัจจัยเท่านั้นและ หากคำถามจะพูดว่า "ก็อีกว่ามา 'ภาพเป็นปัจจัยของชาติ' นั้นจะ พิธทราบได้อย่างไร ?" ดังนี้ไง้ คำตอบพิ้งมิว่า "พิธทราบได้โดย ที่แม้ในปัจจัยอย่างนอกมีเสมอกัน ก็ปรากฎความแปลกกันมีความเป็น ๑. กุมภวะ เป็นกิณีอาราธนา กุลกุมภสุต หมายความว่า กรรมพันพันได้ทั้งกุศลกรรม และอุปกุศลกรรม แต่ในบทนี้ได้แก่กุศลกรรมอย่างเดียว ความก่อนนี้ว่า อุปาทานเป็นอุปนิสัยปัจจัยของรูปภาพ อันส่วนกรรม และส่วนอุปนิสัย ๒. ทำไมจึงว่าแต่กุศลกรรม ไม่เข้าใจอธิบายของท่าน ๓. เพราะชาติคือความเกิดขึ้นแห่งอุปบิตภาพนเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More