ศึกษาอุปาทาน ๔ บัณฑิตพิธิธิ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 358
หน้าที่ 358 / 405

สรุปเนื้อหา

อุปาทาน มี ๔ ประเภท คือ กุมาหาปัจจยา, ทิฐุปาทาน, สีพุทธุปาทาน และ อัตตวาทุปาทาน ซึ่งถูกอธิบายเพื่อทำความเข้าใจว่าบุคคลมักมีความรักต่อวัตถุโดยอิงกับกามปุปปาน เพื่อให้เห็นถึงธรรมชาติของอุปาทานและการยึดมั่นกับสรรพสิ่ง.

หัวข้อประเด็น

-อุปาทานและประเภทต่างๆ
-การทำความเข้าใจเกี่ยวกับกามปุปปาน
-ความสำคัญของอุปาทานในแนวทางจิตวิทยา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิทยาภิรมย์เปล ภาค ๓ ตอนที่ ๓๕๗ [แก่นแท คณาหาปัจจยา อุปาทาน] ในบทว่า คณาหาปัจจยา อุปาทาน อุปาทานมี ๔ บัณฑิตพิธิธิอุปาทาน ๔ นั้น โดยอรรถภูภาค (จำแนกความ) โดยสังเขป และโดยผิดธรรมแห่งอุปาทาน และโดยลำดับ นี่เป็นอธิบายในอุปาทานนี้ คือ ในภาคนี้ ชั้นแรก (ว่าจะด้วย) อุปาทานมี ๔ นี้ คือ กุมาหาปัจจยา ทิฐุปาทาน สีพุทธุปาทาน อัตตวาทุปาทาน (ต่อไป) นี้เป็นอรรถภูภาคแห่งอุปาทานเหล่านั้น [อรรถแห่งกามปุปปาน] (อรรถว่า) บุคคลย่อมนี้มักทำรักนั้นที่ได้แก่ วัตถุ เหตุนี้ชื่อว่า กามปุปปาน (แปลว่า ความอิ่มมันกามแห่งบุคคล) ดังนี้บ้าง (อรรถว่า) กาม (คือกิเลส) ด้วย กาม (คือกิเลส) นั้นเป็น ธรรมชาติของมันด้วย เหตุนี้จึงชื่อกามปุปปาน (แปลว่านามผู้อื่นมัน) ดังนี้บ้าง [อรรถแห่งอุปาทานศัพท์] คำว่า อุปาทาน แปลว่า ถือมัน (คือยึดไว้) เพราะอุปศัพท์ ในที่มี มีทิพ์ ศัพท์ (มั่น แรงบันดุง รุนแรงยิ่งนัก) เป็นอรรถ ดังอุป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More